โครงการขยายผลเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ปีงบประมาณ 2562 โรงเรียนวัดแม่เปียะ (โรงเรียนวัดแม่เปียะ)
นักเรียนชั้นประถมปีที่ 5 ได้ร่วมกันทำความสะอาดบ่อปลา จำนวน 4บ่อ โดยมีขั้นตอนดังนี้
แช่ต้นกล้วยในบ่อซีเมนต์บ่อละ 1 ต้น จำนวน 2 สัปดาห์
ถ่ายน้ำทิ้ง แล้วปล่อยน้ำใหม่ ไว้จำนวน 3 วัน
วันที่ 3 ใส่ทรายก้นบ่อบาง ๆ และแช่ถุงที่มีลูกปลาดุไว้ 1 คืน โดนไม่นำลูกปลาดุกออกจากถุง
ปล่อยลูกปลาดุลงในบ่อซีเมนต์ จำนวน 4 บ่อ บ่อละ 80 ตัว
ให้อาหารปลาดุกเล็ก บ่อละ 1 ขีด จำนวน 4 บ่อ
1.ได้ปลาดุก จำนวน 4 บ่อๆละ 80 ตัว
2.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก
3.นักเรียนแบ่งบทบาทหน้าในการรับผิดชอบการเลี้ยงปลาดุก
4.โรงเรียนมีพื้นที่ในการผลิตอาหารที่ปลอดภัย
5.แม่ครัวสามารถนำวัตถุดิบที่โรงเรียนผลิตได้ จัดเป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดแม่เปียะทั้งโรงเรียน จำนวน 486 คน
1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เข้าร่วมโครงการ ได้ร่วมกันปลูกผักแบบโฮโดรโปนิกส์ จำนวน 1แปลง
2.นักเรียนแบ่งบทบาทหน้าในการดูแลแปลงผัก เช่น การให้น้ำ ปุ่ย และการกำจัดแมลงที่มารบกวน
3.ครูให้ความรู้กับนักเรียนในการดูแลผักปลูกแบบโฮโดรโปนิกส์
1.ได้แปลงผักไฮโดรโพนิกส์ จำนวน 1 แปลง ปลูกผักจำนวน 100 ต้น
2.โรงเรียนมีพื้นที่ผลิตอาหารที่ปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมี
3.ผลผลิตจากแปลงสามารถส่งต่อในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดแม่เปียะทั้งโรงเรียน จำนวน 486 คน
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้าร่วมโครงการ ได้ร่วมกันปรับพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผักกาดแบบยกพื้น จำนวน 3แปลง แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบดูแลแปลงผักจนกว่าผักจะเติบโต เช่น การรดน้ำ การใส่ปุ๋ย ฯลฯ
1.ได้แปลงผักสวนครัวจำนวน 3 แปลง
2.นักเรียนชั้น ป6 มีส่วนร่วมในการปลูกผัก
3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก
4.โรงเรียนมีพื้นที่ในการผลิตและปลูกผัก เพื่อส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เข้าร่วมโครงการ ได้ร่วมกันปรับพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผักกาดแบบยกพื้น จำนวน 3แปลง แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบดูแลแปลงผักจนกว่าผักจะเติบโต เช่น การรดน้ำ การใส่ปุ๋ย ฯลฯ
1.ได้แปลงผักกาดเขียว จำนวน 3 แปลง
2.นักเรียนชั้น ป5 มีส่วนร่วมในการปลูกผัก
3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก
4.โรงเรียนมีพื้นที่ในการผลิตและปลูกผัก เพื่อส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เข้าร่วมโครงการ ได้ร่วมกันปรับพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผัก ได้แปลงผักบุ้งจำนวน 3แปลง แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบดูแลแปลงผักจนกว่าผักจะเติบโต เช่น การรดน้ำ การใส่ปุ๋ย ฯลฯ
1ได้แปลงผักบุ้ง จำนวน 3 แปลง
2.นักเรียนชั้น ป1 มีส่วนร่วมในการปลูกผัก
3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก
4.โรงเรียนมีพื้นที่ในการผลิตและปลูกผัก เพื่อส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน