แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางจรินทร์ ชุมย้อย
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายให้ดำเนินการโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อให้บริการนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีคุณค่าทางโภชนาการ อันจะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มีภูมิต้านทานโรค และเมื่อนักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ย่อมส่งผลให้มีการพัฒนาการด้านร่างกายจิตใจและสติปัญญาดีขึ้นด้วย นักเรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างเต็มศักยภาพ
โรงเรียนวัดโตนดด้วน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และสนองตอบนโยบายของรัฐบาล และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการอาหารกลางวันนักเรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีคุณค่าทางโภชนาการ อันจะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อเสริมสร้างความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียนต่อไป
โรงเรียนวัดโตนดด้วน มีกำรจัดโครงกำรอำหำรกลำงวันให้กับเด็กนักเรียนทุกคนอย่ำงมีคุณภาพเพื่อมุ่งแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนนการในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเด็กน้ำหนักน้อยกว่ำเกณฑ์ และเด็กขาดสารอาหาร แต่จากข้อมูลวันที่ 10 มิ.ย. 2561 พบว่า มีนักเรียนค่อนข้างผอมและผอมจำนวน 18 คนคิดเป็นร้อยละ 9.47 นักเรียนค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 7.89 นักเรียนค่อนข้างอ้วนและอ้วน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 10.53 ซึ่งโรงเรียนได้ดำเนินการจัดอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunce และพยายามเลือกใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาใช้ในการปรุงอาหาร แต่ยังมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ในแต่ละวันและจำเป็นต้องจัดซื้อวัตถุดิบจากภายนอกมาประกอบอาหารให้นักเรียนในบางส่วน ซึ่งอาจทาให้มีการปนเป้ออนของสารเคมีจากยาฆ่าแมลงที่ตกค้าง
โรงเรียนวัดโตนดด้วน เล็งเห็นความจำเป็นในการส่งเสริมให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่ปลอดภัยจากสารเคมีในปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอ จึงได้จัดทำโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันขึ้นเพื่อให้มีการจัดระบบอาหารที่ดีตั้งแต่กระบวนผลิตจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหารในโรงเรียนทั้งด้านเกษตร ปศุสัตว์ และประมง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดี แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน
- เพื่อลดปัญหา ภาวะ โภชนาการใน เด็กวัยเรียนทั้ง ปัญหาเด็กอ้วน เตี้ยและผอม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมแปลงปลูกผักสวนครัว
- การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้น อนุบาล 1 – ป.6
190
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันครบทุกคนและได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการทำให้สุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่ดี ส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การเตรียมแปลง/การปลูก ดูแลรักษาผักสวนครัว
วันที่ 20 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษษปีที่ 4-6 ร่วมกันเตรียมปล้องบ่อซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 ซม จำนวน 24 ปล้อง เพื่อปลูกผักบุ้งแบบลอยน้ำ
2.เตรียมแปลงสำหรับปลูกผักประเภทกินใบ เช่น คะน้า ผักกาดขาว และผักสวนครัว เช่น มะนาว โหรพา ผักชี ฯลฯ
3.เตรียมปุ่ย เตรียมดิน สำหรับการเพาะต้นพันธุ์ และการปลูกผัก
4.นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ผลัดเปลี่ยนเวรในการดูแล การใส่ปุ๋ย การรดน้ำ กำจัดแมลง เพื่อให้ผักมีการเจริญเติบโต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีพื้นที่ในการปลูกผักกินใบและผักสวนครัวในโรงเรียน ที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำแปลงผักทั้งในรูปแบบใช้อุปกรณ์อื่น เช่น ปล้องบ่อซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 ซม.จำนวน 24 ปล้อง
2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำแปลงผักเพื่อใช้ปลูกผัก
3.นักเรียนร่วมกันปลูกผัก และร่วมกันดูแลแปลงผักที่เป็นท่อซีเมนต์ และในแปลงดิน
4.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักสวนครัว และผักประเภทกินใบ
194
0
2. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินโรงเรียน
วันที่ 10 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.เลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน ขนาดกว้าง 2.5 เมตร ยาว 7.5 เมตร และปล่อยพันธ์ุปลาดุก จำนวน 1,500 ตัว
2.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการระดับชั้นประถมศึกษา 4-6 ร่วมกันดูแล เช่น การให้อาหารปลาดุกจนกว่าปลาดุกที่เลี้ยงไว้ สามารถจับส่งต่อเป็นวัตถุดิบให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพื่อให้แม่ครัวจัดทำเป็นอาหารเลี้ยงเด็กนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เลี้ยงปลาดุก 1500 ตัว ในบ่อดิน จำนวน 1บ่อ
2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลปลาดุกที่เลี้ยงไว้ จนกว่าจะโต และจับมาเป็นวัตถุดิบ ในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน 194 คน
3.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก
194
0
3. การเก็บเกี่ยว/ผลผลิตสู่โครงการอาหารกลางวัน
วันที่ 27 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีการเก็บผลผลิตจากแปลง เช่น ผักบุ้ง คะน้า ผักกาด ส่งโครงการอาหารกลางวัน
2.แม่ครัวสามารถจัดเมนูอาหารกลางวันที่มาจากผักจากแปลงที่นักเรียนปลูก ทำให้นักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัย
3.นักเรียนช่วยกันดูแลแปลงผักที่ปลูก เช่น การรดน้ำ การใส่ปุ๋ย พรวนดิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.โครงการอาหารกลางวัน สามารถจัดเมนูอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบให้นักเรียนได้รับประทาน จำนวน 194 คน
2.ผักที่ปลูก มีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี
3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก และสามารถนำไปใช้ในครอบครัวตนเองได้
4.นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
194
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหารในโรงเรียนทั้งด้านเกษตร ปศุสัตว์ และประมง
ตัวชี้วัด : เกิดการจัดการระบบอาหารกลางวันในโรงเรียนตั้งแต่กระบวนการผลิต การปรุงอาหาร และการบริโภคให้ปลอดภัย โดยใช้วัตถุดิบอาหารที่เกิดจากการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
100.00
2
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดี แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ครู ผู้รับผิดชอบการกำหนด เมนูอาหารกลางวันในโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ออกเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนทั้งรายสัปดาห์และรายเดือน โดยเมนูอาหารกลางวันเชื่อมโยงกับ
โครงการเกษตรในโรงเรียน
100.00
3
เพื่อลดปัญหา ภาวะ โภชนาการใน เด็กวัยเรียนทั้ง ปัญหาเด็กอ้วน เตี้ยและผอม
ตัวชี้วัด : มีการติดตามเฝ้ำระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองและหน่วยงานสาธารณสุขในอำเภอ
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
190
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้น อนุบาล 1 – ป.6
190
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจรินทร์ ชุมย้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) ”
จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางจรินทร์ ชุมย้อย
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายให้ดำเนินการโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน เพื่อให้บริการนักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีคุณค่าทางโภชนาการ อันจะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ มีภูมิต้านทานโรค และเมื่อนักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ย่อมส่งผลให้มีการพัฒนาการด้านร่างกายจิตใจและสติปัญญาดีขึ้นด้วย นักเรียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างเต็มศักยภาพ
โรงเรียนวัดโตนดด้วน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และสนองตอบนโยบายของรัฐบาล และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการอาหารกลางวันนักเรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีคุณค่าทางโภชนาการ อันจะช่วยให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อเสริมสร้างความพร้อมในการเรียนรู้ของผู้เรียนต่อไป
โรงเรียนวัดโตนดด้วน มีกำรจัดโครงกำรอำหำรกลำงวันให้กับเด็กนักเรียนทุกคนอย่ำงมีคุณภาพเพื่อมุ่งแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนนการในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเด็กน้ำหนักน้อยกว่ำเกณฑ์ และเด็กขาดสารอาหาร แต่จากข้อมูลวันที่ 10 มิ.ย. 2561 พบว่า มีนักเรียนค่อนข้างผอมและผอมจำนวน 18 คนคิดเป็นร้อยละ 9.47 นักเรียนค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 7.89 นักเรียนค่อนข้างอ้วนและอ้วน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 10.53 ซึ่งโรงเรียนได้ดำเนินการจัดอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunce และพยายามเลือกใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาใช้ในการปรุงอาหาร แต่ยังมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ในแต่ละวันและจำเป็นต้องจัดซื้อวัตถุดิบจากภายนอกมาประกอบอาหารให้นักเรียนในบางส่วน ซึ่งอาจทาให้มีการปนเป้ออนของสารเคมีจากยาฆ่าแมลงที่ตกค้าง
โรงเรียนวัดโตนดด้วน เล็งเห็นความจำเป็นในการส่งเสริมให้นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่ปลอดภัยจากสารเคมีในปริมาณที่เหมาะสมเพียงพอ จึงได้จัดทำโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันขึ้นเพื่อให้มีการจัดระบบอาหารที่ดีตั้งแต่กระบวนผลิตจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหารในโรงเรียนทั้งด้านเกษตร ปศุสัตว์ และประมง
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดี แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน
- เพื่อลดปัญหา ภาวะ โภชนาการใน เด็กวัยเรียนทั้ง ปัญหาเด็กอ้วน เตี้ยและผอม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมแปลงปลูกผักสวนครัว
- การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียนชั้น อนุบาล 1 – ป.6 | 190 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันครบทุกคนและได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการทำให้สุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจที่ดี ส่งผลให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การเตรียมแปลง/การปลูก ดูแลรักษาผักสวนครัว |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษษปีที่ 4-6 ร่วมกันเตรียมปล้องบ่อซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 ซม จำนวน 24 ปล้อง เพื่อปลูกผักบุ้งแบบลอยน้ำ 2.เตรียมแปลงสำหรับปลูกผักประเภทกินใบ เช่น คะน้า ผักกาดขาว และผักสวนครัว เช่น มะนาว โหรพา ผักชี ฯลฯ 3.เตรียมปุ่ย เตรียมดิน สำหรับการเพาะต้นพันธุ์ และการปลูกผัก 4.นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ผลัดเปลี่ยนเวรในการดูแล การใส่ปุ๋ย การรดน้ำ กำจัดแมลง เพื่อให้ผักมีการเจริญเติบโต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีพื้นที่ในการปลูกผักกินใบและผักสวนครัวในโรงเรียน ที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำแปลงผักทั้งในรูปแบบใช้อุปกรณ์อื่น เช่น ปล้องบ่อซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 ซม.จำนวน 24 ปล้อง 3.นักเรียนร่วมกันปลูกผัก และร่วมกันดูแลแปลงผักที่เป็นท่อซีเมนต์ และในแปลงดิน 4.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักสวนครัว และผักประเภทกินใบ
|
194 | 0 |
2. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดินโรงเรียน |
||
วันที่ 10 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.เลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน ขนาดกว้าง 2.5 เมตร ยาว 7.5 เมตร และปล่อยพันธ์ุปลาดุก จำนวน 1,500 ตัว 2.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการระดับชั้นประถมศึกษา 4-6 ร่วมกันดูแล เช่น การให้อาหารปลาดุกจนกว่าปลาดุกที่เลี้ยงไว้ สามารถจับส่งต่อเป็นวัตถุดิบให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพื่อให้แม่ครัวจัดทำเป็นอาหารเลี้ยงเด็กนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เลี้ยงปลาดุก 1500 ตัว ในบ่อดิน จำนวน 1บ่อ 2.นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลปลาดุกที่เลี้ยงไว้ จนกว่าจะโต และจับมาเป็นวัตถุดิบ ในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน 194 คน 3.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก
|
194 | 0 |
3. การเก็บเกี่ยว/ผลผลิตสู่โครงการอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 27 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีการเก็บผลผลิตจากแปลง เช่น ผักบุ้ง คะน้า ผักกาด ส่งโครงการอาหารกลางวัน 2.แม่ครัวสามารถจัดเมนูอาหารกลางวันที่มาจากผักจากแปลงที่นักเรียนปลูก ทำให้นักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัย 3.นักเรียนช่วยกันดูแลแปลงผักที่ปลูก เช่น การรดน้ำ การใส่ปุ๋ย พรวนดิน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.โครงการอาหารกลางวัน สามารถจัดเมนูอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบให้นักเรียนได้รับประทาน จำนวน 194 คน 2.ผักที่ปลูก มีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี 3.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก และสามารถนำไปใช้ในครอบครัวตนเองได้ 4.นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
|
194 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหารในโรงเรียนทั้งด้านเกษตร ปศุสัตว์ และประมง ตัวชี้วัด : เกิดการจัดการระบบอาหารกลางวันในโรงเรียนตั้งแต่กระบวนการผลิต การปรุงอาหาร และการบริโภคให้ปลอดภัย โดยใช้วัตถุดิบอาหารที่เกิดจากการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน |
100.00 | |||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดี แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน ตัวชี้วัด : ครู ผู้รับผิดชอบการกำหนด เมนูอาหารกลางวันในโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ออกเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนทั้งรายสัปดาห์และรายเดือน โดยเมนูอาหารกลางวันเชื่อมโยงกับ โครงการเกษตรในโรงเรียน |
100.00 | |||
3 | เพื่อลดปัญหา ภาวะ โภชนาการใน เด็กวัยเรียนทั้ง ปัญหาเด็กอ้วน เตี้ยและผอม ตัวชี้วัด : มีการติดตามเฝ้ำระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองและหน่วยงานสาธารณสุขในอำเภอ |
100.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 190 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนชั้น อนุบาล 1 – ป.6 | 190 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจรินทร์ ชุมย้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......