สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ) ”

หมู่ที่ 2 ตำบลโรง อำเภอกระเเสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเผือน ช่วยจันทร์ (0810991129)

ชื่อโครงการ โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ)

ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลโรง อำเภอกระเเสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลโรง อำเภอกระเเสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองได้ (2) เพื่อให้นักเรียนสุขภาพร่างกายแข็งแรง สมส่วน ตามวัย และลดภาวะอ้วน รวมถึงภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารพืชผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ปลอดภัย โรงเรียนวัดกาหรำเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้นปีที่ 1- 6 ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน ส่วนผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน จากการสังเกตเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดกาหรำพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก อาจเนื่องมาจาก ผักมีรสชาติที่ไม่อร่อยหรือไม่สามารถหาผักมารับประทานได้ และมีนักเรียนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดมากถึงร้อยละ 60 รวมไปถึงนักเรียนที่ไม่รับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียนก็มีมาก สำหรับคนที่ทานอาหารเช้าก็ทานอาหารที่ไม่ค่อยเหมาะสมต่อการนำสารอาหารไปใช้ในแต่ละวัน และอาหารกลางวันที่ไม่ค่อยจะมีผักเป็นส่วนประกอบมากเท่าที่ควร ทำให้นักเรียนไม่ค่อยชอบการรับประทานอาหารจำพวกผัก แต่การประกอบอาหาร การปรุง เครื่องปรุงต่างๆยังถือว่าถูกหลักอนามัยที่ดีอยู่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองได้
  2. เพื่อให้นักเรียนสุขภาพร่างกายแข็งแรง สมส่วน ตามวัย และลดภาวะอ้วน รวมถึงภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน
  2. นักเรียนดำเนินการปรับปรุงแปลงเกษตรของตัวเอง
  3. นักเรียนดำเนินการนำเมล็ดผักลงปลูก
  4. ดูแล รดน้ำ รักษาแปลงผักของตัวเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ชั้นอนุบาล 1-2 ,ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1-6 51

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะครูและนักเรียนเพื่อชี้เเจงวางแผนในการดำเนินโครงการเกษตรในโรงเรียน

วันที่ 7 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะครูและนักเรียน เพื่อชี้เเจงกระบวนการการทำงานและแบ่งงานตามความสามารถและความเหมาะสมของนักเรียนในการรับผิดชอบโครงการเกษตร

2.รับสมัครนักเรียนเข้าร่วมโครงการเกษตร ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่1-6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ของตนเองในการรับผิดชอบการดูแลแปลงเกษตร โดยแบ่งนักเรียนระดับชั้น ป1-ป.3 จำนวน 20 คน ดูแลในส่วนของแปลงแบบลูกท่อซีเมนต์ และนักเรียน ป4-ป.6 ในรูปแบบแปลงดิน

2.วางแผนการปลูกพืช และผักสวนครัว ประกอบด้วยผักบุ้ง ผักกาด

 

51 0

2. นักเรียนดำเนินการปรับปรุงแปลงเกษตรของตัวเอง

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนเตรียมอุปกรณ์การเกษตร เช่น จอบ เสียม และอุปกรณ์อื่นๆที่จำเป็นในการเตรียมแปลงปลูกผัก

2.แบ่งนักเรียนชั้น ป4-ป.6 ในการทำแปลงผัก โดยนักเรียนชั้นป.1-ป.3 เตรียมแปลงในรูปแบบท่อซีเมนต์ และนักเรียนป.4-ป.6 เพื่อจัดพื้นที่แปลงผักแบบแปลงดิน เพื่อในการปลูกผักสวนครัวและผักกินไบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนระดับชั้น ป.1-ป.6 จำนวน 40 คน มีส่วนร่วมในการเตรียมแปลงปลูกผัก จำนวน 10 แปลง และแบบลูกท่อ 10 ลูกท่อ

2.นักเรียนมีความรู้ในการเตรียมแปลงปลูกผัก

3.ในการจัดทำแปลงผัก เป็นการฝึกให้นักเรียนมีความอดทน

 

51 0

3. ดูแล รดน้ำ รักษาแปลงผักของตัวเอง

วันที่ 28 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.หลังปลูกเสร็จแล้ว นักเรียนจะต้องดูแล รักษาพืชที่ปลูกไว้ โดยจะรดน้ำทุกตอนเย็นเวลา 15.30-16.00น.

2.แต่ละคนจะต้องดูแลแปลงผักของตนเองด้วยการรดน้ำก่อนกลับบ้าน กำจัดวัชพืชทุกครั้งที่เห็นเช่น หญ่้า แมลง เป็นต้น

3.ร่วมกันดูแลแปลงผักตามหน้าที่ที่ได้รับหมอบหมายจนกว่าผักจะเจริญเติบโต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผักที่นักเรียนดูแลเป็นอย่างดีนั้น เริ่มที่จะโตขึ้นๆ และนักเรียนจะต้องรดและดูแลไปจนกว่าพืชผักสามารถที่จะเก็บเกี่ยวได้

 

51 0

4. เริ่มเก็บพืชผักที่สามารถเก็บได้แล้ว

วันที่ 25 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 40 คน ร่วมกันเก็บผักบุ้ง ผักกาด ที่ปลูกไว้ ส่งต่อให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

2.ผักที่ปลูกได้ผลผลิต จำนวน 2-3 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ เพื่อมาจัดเป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียนได้รับประทาน

3.ผักที่ปลูกมีความปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมี

4.นักเรียนมีความภาคภูมิใจจากการปลูกผัก และสามารถนำผักมาจัดทำเป็นอาหารได้รับประทาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนระดับชั้นอนุบาล ถึงประถมศึกษา จำนวน 50 คน ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มาจากผักที่ปลูกเองในโรงเรียน

2.ผักที่ปลูกจากแปลงมีความปลอดภัย ไม่ใช่สารเคมี

3.แม่ครัวสามารถจัดเมนูอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบเพิ่มมากขึ้น

 

51 0

5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันภายในโรงเรียน

วันที่ 30 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ครูและนักเรียนมานั่งร่วมกันและร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการที่ผ่านมา วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค รวมถึงผลและประโยชน์ที่ได้จากการทำกิจกรรมทั้งหมด ใช้เวลาในการประชุมประมาณ 2-3 ชม. โดยมีผุ้ปกครองเข้ารับฟังผลการทำโครงการและคุณครูได้ชี้แนะแนวทางในการนำกิจกรรมไปต่อยอดที่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการทำโครงการ พบว่า นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกผัก และผักที่เก็บเกี่ยวสามารถนำมาใช้ได้จริง และใช้การเกษตรนี้ถือเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนที่ดี มีประโยชน์ในเรื่องของโครงการอาหารกลางวัน การได้นำผักที่นักเรียนปลูกเอง ไม่เป็นอันตราย ปลอดสารพิษมาทำอาหารกลางวัน และยังสามารถสร้างรายได้ให้กับนักเรียนอีกทางหนึ่ง และที่สำคัญนักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม การสร้างความสามัคคีและเกิดความสนุกสนาน รวมถึงสามารถเข้ากับผู้อื่นได้

 

51 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนรู้วิธีการปลูกผักสวนครัวและสามารถนำไปเพาะปลูกภายในครอบครัวได้
0.00 51.00

นักเรียนมีทักษะในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทางการเกษตร

2 เพื่อให้นักเรียนสุขภาพร่างกายแข็งแรง สมส่วน ตามวัย และลดภาวะอ้วน รวมถึงภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะอ้วนและเตี้ยลดลง
0.00 30.00

1.สมุดบันทึกสุขภาพ

2.ผลการเรียนของนักเรียน

3.ความคล่องแคล่ว การเคลื่อนไหวของร่างกาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชั้นอนุบาล 1-2 ,ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1-6 51 51

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองได้ (2) เพื่อให้นักเรียนสุขภาพร่างกายแข็งแรง สมส่วน ตามวัย และลดภาวะอ้วน รวมถึงภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การดำเนินงานโครงการนี้ ได้เริ่มทำในช่วงเดือนมกราคม ซึ่งช่วงนั้นเป็นช่วงที่ยังมีฝนตกอยู่ ทำให้การทำงานมีความลำบากอยู่บ้าง

เนื่องจากอยู่ใกล้กับลำคลอง เมื่อฝนตกหนัก น้ำตะเอ่อล้นมาท่วมแปลงเกษตรบางส่วนเสียหาย

-


โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเผือน ช่วยจันทร์ (0810991129) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด