ชื่อโครงการ | โครงการชวนนักเรียนกินผักโรงเรียนวัดกาหรำ (โรงเรียนวัดกาหรำ) |
ภายใต้โครงการ | แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 3 ตุลาคม 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 20,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนวัดกาหรำ ตำบลโรง อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวเผือน ช่วยจันทร์ (0810991129) |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | วรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | หมู่ที่ 2 ตำบลโรง อำเภอกระเเสสินธุ์ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.7078938556235,100.33978329825place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 20,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนร้อยละของเด็กเตี้ย | 30.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารพืชผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ปลอดภัย โรงเรียนวัดกาหรำเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้นปีที่ 1- 6 ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน ส่วนผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน จากการสังเกตเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดกาหรำพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก อาจเนื่องมาจาก ผักมีรสชาติที่ไม่อร่อยหรือไม่สามารถหาผักมารับประทานได้ และมีนักเรียนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดมากถึงร้อยละ 60 รวมไปถึงนักเรียนที่ไม่รับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียนก็มีมาก สำหรับคนที่ทานอาหารเช้าก็ทานอาหารที่ไม่ค่อยเหมาะสมต่อการนำสารอาหารไปใช้ในแต่ละวัน และอาหารกลางวันที่ไม่ค่อยจะมีผักเป็นส่วนประกอบมากเท่าที่ควร ทำให้นักเรียนไม่ค่อยชอบการรับประทานอาหารจำพวกผัก แต่การประกอบอาหาร การปรุง เครื่องปรุงต่างๆยังถือว่าถูกหลักอนามัยที่ดีอยู่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองได้ นักเรียนรู้วิธีการปลูกผักสวนครัวและสามารถนำไปเพาะปลูกภายในครอบครัวได้ |
0.00 | |
2 | เพื่อให้นักเรียนสุขภาพร่างกายแข็งแรง สมส่วน ตามวัย และลดภาวะอ้วน รวมถึงภาวะเตี้ยในเด็กนักเรียน นักเรียนมีภาวะอ้วนและเตี้ยลดลง |
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 51 | 51 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ชั้นอนุบาล 1-2 ,ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1-6 | 51 | 51 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 20.00 | 0 | 0.00 | |
1 พ.ย. 61 - 30 ก.ย. 62 | ปลูกผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน | 0 | 20.00 | - | ||
15 - 20 ม.ค. 62 | นักเรียนดำเนินการปรับปรุงแปลงเกษตรของตัวเอง | 0 | 0.00 | - | ||
24 - 27 ม.ค. 62 | นักเรียนดำเนินการนำเมล็ดผักลงปลูก | 0 | 0.00 | - | ||
28 ม.ค. 62 - 30 มี.ค. 62 | ดูแล รดน้ำ รักษาแปลงผักของตัวเอง | 0 | 0.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2561 14:54 น.