แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
1.กิจกรรมปลูกผักกินใบ กินยอด กินฝัก | 22 พ.ย. 2561 | 29 ส.ค. 2562 |
|
1.นักเรียนระดับชั้น ป.3 ป.4 ป.5 จำนวน 80 คน ได้ร่วมกันจัดทำแปลงปลูกผักบุ้ง จำนวน 6 แปลง 2.เตรียมเมล็ดพันธุ์ผักสำหรับการปลูก โดยการแช่น้ำไว้ 6 ชม. 3.นักเรียนระดับชั้น ป.3 ป.4 ป.5 จำนวน 80 คน ร่วมกันปลูกผักบุ้ง 4.แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบดูแล เช่น การใส่ปุ๋ย รดน้ำ กำจัดวัชพืช และดูแลผักจนกว่าจะเติบโต เป็นระยะเวลา 30 วัน |
|
1.มีแปลงผักจำนวน 6 แปลง เพื่อใช้ปลูกผักบุ้ง 2.นักเรียนได้เรียนรู้การทำแปลงปลูกผัก 3.นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน มีความรับผิดชอบมากขึ้น |
|
2.กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก ปลาหมอ ในท่อซีเมนต์ | 22 พ.ย. 2561 | 29 ส.ค. 2562 |
|
1.นักเรียนระดับชั้น ป.4 จำนวน 24 คน ได้ร่วมกันเตรียมโรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1โรงเรือน เลี้ยงแบบขังคอกรวม พร้อมทั้งติดตั้งรังไก่ไข่ กระป่องน้ำ ถังอาหารแบบแขวน 2.แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบดูแล เลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 20 ตัว |
|
1.นักเรียนมีส่วนร่วมในการเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเลี้ยงไก่ไข่ การดูแลและให้น้ำให้อาหารไก่ 2.นักเรียนได้เรียนรู้บทบาทของตนเองในการทำงานร่วมกัน |
|
3.กิจกรรมเพาะพืชต้นอ่อน | 22 พ.ย. 2561 | 29 ส.ค. 2562 |
|
1.นักเรียนระดับชั้น ป.4 ป.5 จำนวน 52 คน ได้ร่วมกันนำเมล็ดทานตะวัน จำนวน 1/2 กิโลกรัม เพาะในตะกร้าที่เตรียมไว้ จำนวน 6 ตะกร้า และนำไปเก็บไว้ในโรงเรือน 2.แบ่งนักเรียนในการรับผิดชอบดูแล รดน้ำต้นผักจนกว่าจะเติบโต ระยะเวลา 8 วัน จำนวน 6 ครั้ง |
|
1.นักเรียนได้เรียนรู้การเพาะต้นอ่อนทานตะวัน 2.นักเรียนร่วมกันเพาะต้นอ่อนทานตะวัน เพื่อเป็นวัตถุดิบส่งต่อให้กับโครงการอาหารกลางวัน จำนวน 6 กิโลกรัม 3.นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน |
|
การเก็บเกี่ยวผลผลิต ป้อนสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน | 2 พ.ค. 2562 | 29 ส.ค. 2562 |
|
1.นักเรียนระดับชั้น ป.4 ป.5 จำนวน 30 คน ได้ร่วมกันเก็บผลผลิตที่เกิดจากโครงการ ดังนี้ -ผลผลิตต้นอ่อนทานตะวัน ได้จำนวน 6 กิโลกรัม -ไข่ไก่ จำนวน 90 ฟอง/สัปดาห์ -ผักบุ้ง จำนวน 10 กิโลกรัม จำนวน 2 ครั้ง |
|
1.โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัย 2.นักเรียนได้กินผัก ไข่ไก่ เพิ่มมากขึ้นในมื้ออาหาร 3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย |
|