สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนบ้านเมาะลาแต (โรงเรียนบ้านเมาะลาแต)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 5
20.00 5.00 5.00

1.นักเรียนได้รับประทานเมนู ผักและเห็ดนาฟ้า จากโครงการฯ

2.ผลผลิตที่ป้อนสู่โรงครัวของโรงเรียน เกิดเป็นเมนูอาหารกลางให้กับนักเรียน จำนวน 153คน

3.ผลผลิตที่ได้จากโครงการฯ เช่นผัก เห็ดนางฟ้า ที่ปลอดภัย

4.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

2.ผลผลิตมีความปลอดภัย

3.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนร้อยละ 70 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
20.00 70.00 70.00

นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้

นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้

นักเรียนมีพฤติกรรมในการบริโภคอาหารในทางที่ดีขึ้น

3 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตรอย่างน้อย 2 กิจกรรม เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
0.00

มีวัตถุดิบจากผักและเห็ดนางฟ้าส่งโรงครัว ทำอาหารกลางวันให้เด็กรับประทาน

มีวัตถุดิบจากผักและเห็ดนางฟ้าส่งโรงครัว ทำอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย ผลผลิตมีความปลอดภัย นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง