สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน) ”

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพิทักษ์ แก้ววิชิต

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน)

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ที่กำลังเริ่มแพร่กระจายเข้าคุกคามชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในหลายจังหวัดของประเทศไทยอยู่ในขณะนี้ ถือเป็นภัยที่เกิดขึ้นและส่งสัญญาณเตือนภัยว่า ภาวะภัยแล้งปีนี้จะแล้งหนักกว่า ทุกปี แน่นอน ปัญหาภัยแล้งย่อมส่งผลกระทบอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะต่อพื้นที่การเกษตร ซึ่งปัญหาที่ตามมาคือ การเกิดวิกฤติขาดแคลนอาหาร และรวมถึงอาหารที่จะมีราคาพุ่งสูงขึ้นในอนาคต และนั่นคือสิ่ง ที่นำมาสู่ปัญหาต่อผู้เรียน เพราะเมื่อเกิดปัญหาภาวะภัยแล้งแล้ว พ่อแม่หรือผู้ปกครองไม่สามารถประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้จึงต้องไปหางานทำไกลบ้าน เพื่อให้มีรายได้มาจุนเจือเลี้ยงดูครอบครัว นักเรียนส่วนใหญ่จึงต้องดำเนินชีวิตอยู่กับญาติ หรือบุคคลอื่น อาจเกิดปัญหาเด็กขาดความอบอุ่น ถูกทอดทิ้ง หรือละเลย โดยเฉพาะเรื่องปากท้อง นั้นคือการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะมื้อเช้า จากการสำรวจและสัมภาษณ์โดยการไปเยี่ยมบ้านของครูที่ปรึกษานั้น ได้ข้อมูลส่วนใหญ่คือนักเรียนได้รับประทานอาหารไม่ครบสามมื้อ โดยเฉพาะมื้อเช้าจะเป็นมื้อที่ถูกละเลย ซึ่งเป็นมื้อที่สำคัญ ซึ่งมีหลากหลายสาเหตุ เช่น ผู้ปกครองทำไม่ทันเพราะต้องรีบไปทำงานซึ่งที่ทำงานอยู่ไกลบ้าน, ขาดแคลน ยากจน ได้รับประทานเป็นบางวัน เพียงพอบ้างไม่เพียงพอบ้าง, นักเรียนตื่นสาย รับประทานไม่ทัน, นักเรียนชอบไปโรงเรียนแต่เช้าและเป็นเวลาที่เช้าเกินจึงยังไม่หิว ฯลฯ

    จากสาเหตุดังกล่าว สถานศึกษาซึ่งเป็นสถานที่ที่มีหน้าที่ในการจัดการศึกษาโดยให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ เก่ง ดี มีสุข นั้น จึงเห็นความสำคัญและต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทั้งร่างกายและสมอง จึงได้จัดตั้งโครงการ มื้อเช้าอิ่มท้องสมองแจ่มใส ขึ้นเพราะการรับประทานอาหารมื้อเช้านั้นเป็นมื้อสำคัญในการพัฒนาสมอง ของนักเรียน ถ้านักเรียนต้องมโรงเรียนพร้อมกับความหิวโหย ต้องทนหิวมารอทานข้าวกลางวันที่โรงเรียน อาจเนื่องมาจากความขัดสน หรือจากตัวนักเรียนเองก็ตาม จะทำให้นักเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการมีภูมิคุ้มกันโรคต่ำ เมื่อเด็กรู้สึกหิวสมองก็จะไม่มีสมาธิ คิดอะไรไม่ออก ไม่ตั้งใจเรียน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและประสิทธิภาพในการเรียน

    ดังนั้นเพื่อเป็นการสนับสนุนให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ ได้รับสารอาหารทีมีประโยชน์และเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย เพื่อให้ร่างกายมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ แบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง และเพื่อเสริมสร้างความตระหนักให้นักเรียนปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน สร้างเสริมระเบียบวินัย และทันเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กขาดสารอาหารให้น้อยลง
  2. เพื่อลดจำนวนเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าให้ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเลี้ยงปลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครู 18
นักเรียน 157

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าลดลงเหลือ ร้อยละ 5
  2. เด็กที่ขาดสารอาหารลดลงเหลือ ร้อยละ 5

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • วิธีการเตรียมบ่อ บ่อเก่า สำหรับบ่อเก่าควรสูบน้ำให้แห้งแล้วตากบ่อประมาณ 10-15 วัน พร้อมทั้งโรยปูนขาวให้ทั่วบ่อ ในอัตราส่วนปูนขาว 1 กก. ต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร เพื่อให้แสงแดดทำลายเชื้อโรคต่างๆ ที่มีอยู่เดิม เมื่อเลี้ยงปลาดุกได้ประมาณ 3-4 รุ่น ควรลอกเลนและทำคันบ่อใหม่ เนื่องจากบ่ออาจตื้นเขินและขอบดินอาจเป็นรูหรือโพรง ทำให้บ่อเก็บกักน้ำไม่อยู่
  • ซื้อกระชังอนุบาลลูกปลา
  • ซื้อลูกปลาดุก
  • ซื้ออาหารปลาดุก
  • เลี้ยง 1 บ่อ ปล่อย 5000 ตัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 13 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 500 กิโลกรัม

 

175 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กขาดสารอาหารให้น้อยลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่ขาดสารอาหารลดลงเหลือ
20.00 5.00 80.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อลดจำนวนเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าให้ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าลดลงเหลือ
25.00 5.00 80.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 175
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 18
นักเรียน 157

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กขาดสารอาหารให้น้อยลง (2) เพื่อลดจำนวนเด็กที่ไม่รับประทานอาหารเช้าให้ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเลี้ยงปลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรในโรงเรียนชุมชนบ้านนากันเพื่ออาหารเช้า (โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิทักษ์ แก้ววิชิต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด