โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ (โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่)
1.เตรียมดินในท่อ
2.ปลูกมะนาว ดูแลรดน้ำ กำจัดวัชพืช
ได้มะนาวในท่อจำนวน 10 ต้น ยังไม่ได้รับผลผลิต
1.เตรียมดิน ไถพรวน ผสมดิน
2.เพาะเมล็ดในถาดเพาะ
3.เตรียมหลุมและปลูกไม้ยืนต้น
4.ปลูกผักบุ้ง ถั่วฝักยาว ข้าวโพด ระน้ำ พรวนดิน กำจัดวัชพืช
5.เก็บผลผลิต
1.นำผักบุ้งมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ครั้งละ 5 กิโล ครั้งครั้งละ 2 กิโลกรัม ประมาณ 1 เดือนกรัม / 1 สัปดาห์ (ระยะเวลา ประมาณ 1 เดือน)ที่เหลือจำหน่ยให้ผู้ปกครองและครู ประมาณ 20 กิโลกรัม 2.นำถั่วฝักยาวมาใช้ในโครงการอาหรกลางวันสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ที่เหลือจำหน่ายให้ครูและผู้ปกครองได้เงินประมาณ 150 บาท 3.นำผลผลิตจากข้าวโพดมาทำอาหารกลางวันครั้งละ 10 กิโลกรัม/1สัปดาห์ ที่เหลือจำหน่ายให้ครู ผู้ปกครอง ได้เงินสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน ประมาณ 1200 บาท 4.ปลูกไม้ยืนต้น เช่น สะตอ 5 ต้น ส้มแขก 2 ต้น มะม่วงหาวมะนาวโห่ 2 ต้น ทุเรียนเทศ 2 ต้น ชะอม 10 ต้น ส่วนพริกไทยตายหมดเนื่องจากแล้งจัด จึงปลูกแก้วมังกร 10 ต้น
1.ประชุมคณะครูที่รับผิดชอบการอบรมผู้ปกครอง 2.ประสานจนท สาธารณสุขให้ความรู้ 3.แจ้งผู้ปกครองเข้าร่วมอบรมความรู้ในการเลือกซื้ออาหารสุขภาพ(เวลา 14.00 - 15.30 น.)
ผู้ปกครองและนักเรียนร่วมประชุมจำนวน 114 คน โดยเป็นการประชุมร่วมในการประชุมผู้ปกครองประจำปี ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์แก่นักเรียนและผู้ปกครอง ความสำคัญของอาหารเช้า นักเรียนรและผู้ปกคครอง เกิดความรู้และเห็นคุณค่าของการจัดอาหารเช้าและการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ปกครองทั้งหมด
1.แจ้งครูประจำชั้นรับผิดชอบการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียนจำนวน 87 คนเดือนละ 1 ครั้ง 2.ส่งข้อมูลให้ครูรับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนดำเนินการตรวจสอบข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สรุปรายงานผลผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
นักเรียนจำนวน 87 คนได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง มีนักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ลดลงจากเดิม 5 คน เหลือ 2 คน
อบรมการบันทึกข้อมูลในระบบโครงการเกษตรในโรงเรียน ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มอ
ครูมีความรู้ในการบันทึกข้อมูลในระบบได้อย่างถูกต้อง
ครูประจำชั้น ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียน
นักเรียนมีนำนักต่ำกว่าเกณฑ์ 1 คน
1.เตรียมดินในหลุมปลูกและในท่อ 2.นักเรียนปลูกไม้ยืนต้นและมะนาว 3.นักเรียนดูแลรดน้ำ กำจัดวัชพืช
การปลูกไม้ยืนต้น เช่น ส้มแขก จำนวน 2 ต้น สะตอ 5 ต้น มะกรูด 2 ต้น ทุเรียนเทศ 2 ต้น มะม่วงหาวมะนาวโห่ 2 ต้น มะนาวในท่อ 12 ต้น และ พริกไทย 10 ต้น (แล้งจัดตายหมดเลยปลูกแก้วมังกรเพิ่ม 10 ต้น) ชะอม 10 ต้น ไม้ยืนต้นยังไม่สามารถเกบเกี่ยวผลผลิตได้
การปลูกผักสวนครัว
ผลผลิตที่ได้
- ปลูกผักบุ้ง 10 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 50 กิโลกรัม
- ปลูกถั่วฝักยาว 5 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 40 กิโลกรัม
- ปลูกข้าวโพด 20 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 20 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 150 กิโลกรัม
1.เตรียมดินเพื่อปลูกผักสวนครัว 2.นักเรียนปลูกผักสวนครัว เช่น ถั่วฝักยาว ผักบุ้งฯลฯ 3. นักเรียนดูแลแปลงผัก
นักเรียนจำนวน 85 คนไดปลูกผักที่นักเรียนชอบ และนำผลผลิตมาใช้ในอาหารกลางวัน เช่น ผักบุ่้ง ถั่วฝักยาว
1.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินการ 2.เชิญวิทยากร 3.เชิญผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม 4.ผู้ปกครองและนักเรียนเข้ารับร่วมการประชุม
ผู้ปกครองและนักเรียนจำนวน 114 คน ได้รับการประชุมและได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร และการประกอบอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อนักเรียนในการพัฒนาให้นักเรียนมีพัฒนาการที่เหมาะสม
1.ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินการ 2.เชิญวิทยากร 3.เชิญผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม 4.ผู้ปกครองและนักเรียนเข้ารับร่วมการประชุม
ผู้ปกครองและนักเรียนจำนวน 114 คน ได้รับการประชุมและได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร และการประกอบอาหารท่ีมีประโยชน์ต่อนักเรียนในการพัฒนาให้นักเรียนมีพัฒนาการที่เหมาะสม