สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง30 มิถุนายน 2560
30
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ชี้แจ้งเป้าหมายและแนวคิดในการจัดทำแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • บรรยายเรื่อง " ยุทธศาสตร์จังหวัดในการสนับสนุนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง"
  • นำเสนอแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงและแผนปฎิบัติการข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การปรับเปลี่ยน จากการทำนาเคมีมาเป็นนาอินทรีย์เป็นไปได้ยาก เกษตรกรต้องการพี่เลี้ยงและการสนับสนุน

มาตรฐาน
คาดหวังให้หน่วยงานราชการช่วยขับเคลื่อนพื้นที่

การจัดทำแผนเสนอต่อจังหวัด อุปสรรค - ความพร้อมของพื้นที่ในการทำกิจกรรม - เอกสารแบบแปลน, การขออนุญาต, การทำประชาพิจารณ์, กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

เพิ่มเติมโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองคุณภาพ พันธุ์ข้าวพื้นเมือง ได้แก่ ข้าวเล็บนก ข้าวเหนียวดำหมอ
1.โครงการวิจัยและพัฒนาข้าวอินทรีย์ - การพัฒนาพันธุ์ข้าวพื้นที่ต้นแบบ - การพัฒนาข้าวสังข์หยด การดำต้นเดียว - การอนุรักษ์พันธุ์ การใช้ภูมิปัญญาโดยการเก็บด้วย... ปัญหา เมล็ดพันธุ์ด้อยคุณภาพ ข้อเสนอแนะ การหว่านเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เสนอโครงการพัฒนาแปลงพันธุ์ข้าวอินทรีย์ชุมชน (ศูนย์พันธุ์ข้าวชุมชน)

กระบวนการคัดเมล็ดพันธุ์
- ทำแปลงข้าวชุมชนโดยขอการรับรองในการจำหน่าย - แบ่งพื้นที่โซนในการอนุรักษ์พันธุ์ข้าว
- 4 ปี มีการเปลี่ยนแปลงกลับมาคัดใหม่ - มีการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ข้าวพื้นเมือง

  1. โครงการพัฒนาสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์พันธุ์ข้าวชุมชน เช่น ข้าวเล็บนกที่กงหรา ข้าวเหนียวดำหมอที่เขาอ้อ
  2. โครงการสร้างอัตลักษณ์พันธุ์ข้าวพื้นเมืองเหนียวดำหมอเขาอ้อ
  3. โครงการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศูนย์โคกหนองนาโมเดลเพื่อความมั่นคงทางอาหาร (โครงการนิเวศน์นาข้าว)
  4. งานวิจัยห่วงโซ่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เวชสำอางจากข้าวสังข์หยด
  5. การพัฒนาแหล่งน้ำสำหรับผิวดินเพื่อการทำนาอินทรีย์ในท้องถิ่น
  6. โครงการพัฒนาจุลินทรีย์วัตถุสำหรับนาข้าวอินทรีย์
  7. โครงการศูนย์พัฒนาจุลินทรีย์ท้องถิ่น
  8. โครงการสร้างนักวิจัยชาวนาชุมชน (การพัฒนาทรัพยากรบุคคล)
  9. โครงการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์
  10. โครงการเพิ่มตลาดชุมชนเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
    • การปลอมข้าวอินทรีย์ (คุณภาพข้าวสังข์หยดอินทรีย์ในชุมชน)
    • ตลาดข้าวสังข์หยดคุณภาพ
    • การประกันราคาข้าวอินทรีย์ (ข้าวเปลือก)
    • มีโรงสีข้าวตามโซนในจังหวัดพัทลุง
    • โรงผลิตแป้งข้าวสังข์หยดที่มีคุณภาพที่สุดในจังหวัดพัทลุง (โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์)
    • การจัดตลาดผลผลิตเกษตรอินทรีย์
  11. ส่งเสริมปรับเปลี่ยนการทำสวนยางมาเป็นการทำนาอินทรีย์
  12. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านส่งเสริมองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรทุกด้าน
  13. โครงการสืบทอดทายาทเกษตรกร
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 36 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

หน่วยงาน สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุง  สถานีพัฒนาที่ดินพัทลุง สำนักงานพาณิชย์จังหวัดพัทลุง สำนักงานชลประทานจังหวัดพัทลุง  ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง
กลุ่มชาวนา กลุ่มชาวนาโรงนาหลานย่าแดง กลุ่มวิชชาลัยรวงข้าว กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้ว กลุ่มวิสาหกิจบ้านเขากลาง กลุ่มโรงเรียนชาวนา

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดทำรายงาน Mapping ข้อมูล26 มิถุนายน 2560
26
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ทำรายงาน Mapping ข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทำรายงาน  Mapping ข้อมูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงาน  Mapping ข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอบางแก้ว20 มิถุนายน 2560
20
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรรวมตัวกันผลิตข้าวอินทรีย์เป็นนาแปลงใหญ่ (300 ไร่) มีทั้งหมดสมาชิก 46 คน เกษตรกรอยากให้มีโครงการพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ซึ่งอยากจะได้ข้าวพันธุ์ไข่มดริ้น ที่เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอำเภอบางแก้ว
- มีปัญหาราคาข้าวตกต่ำ เนื่องจากมีกลุ่มที่ผลิตข้าวอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น บางรายขายข้าวราคาต่ำ ทำให้ราคาข้าวอินทรีย์ต่ำกว่าราคามาตรฐาน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มวิสาหกิจบ้านเรียนรู้เกษตรธรรมชาติบางแก้ว และกลุ่มเกษตรวิถีธรรมชาติ ตะโหมด  กลุ่มสหกรณ์การเกษตรแม่บ้านภักดีร่วมใจจำกัด

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

บริหารจัดการข้อมูล15 มิถุนายน 2560
15
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

บริหารจัดการข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บริหารจัดการข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอควนขนุน1 มิถุนายน 2560
1
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรผลิตข้าวโดยการทำนาอินทรีย์ ช่วงแรกๆที่เริ่มทำนาอินทรีย์จะได้ผลผลิตน้อยกว่าการทำนาเคมี แต่เมื่อเริ่มทำต่อเนื่อง ผลผลิตจะได้ปริมาณที่เยอะขึ้น นิเวศเกษตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 7 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มชาวนาวิชชาลัยรวงข้าว และเกษตรกรในตำบลพนางตุง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่ อ.กงหรา29 พฤษภาคม 2560
29
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์
เกษตรกรมีเป้าหมายเรื่องการทำนาอินทรีย์ แต่เนื่องจากมีปัจจัยหลายๆอย่างที่ทำให้ไม่สามารถทำนาอินทรีย์ได้ เช่น ปัญหาเรื่องหญ้า ปัญหาเรื่องหอยเชอรี่ ปัญหาเรื่องมีพื้นที่นาน้อย และบริเวณโดยรอบทำนาเคมี จึงไม่สามารถทำนาอินทรีย์ได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

โรงเรียนชาวนา และเกษตรกรที่ทำนาในอำเภอกงหราผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ต.ชะรัด

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่นาอินทรย์ ต.พนมวังก์ อ.ควนขนุน 26 พฤษภาคม 2560
26
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

นำข้อมูลเรื่องข้าวอินทรีย์สู่ชาวนา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • พูดคุยเรื่องรายละเอียดโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • ชี้แจงเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง
  • แลกเปลี่ยนความคิดเรื่องการทำนาอินทรีย์กับเกษตรกร
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรกรที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์ แต่การเปลี่ยนแปลงอาจจะเกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากบริเวณรอบๆข้างทำนาเคมี และด้วยสภาวะแวดล้อมตามปัจจุบัน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่ทำนาในตำบลพนมวังก์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)25 เมษายน 2560
25
เมษายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

สร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ชี้แจงการสมัคร ข้อบังคับ การตรวจแปลง และกระบวนการทำร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
  • พิจารณาร่างสร้างระบบมาตรฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมมากขึ้น
  • กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็นทำให้เกิดแนวทางที่จะก่อให้มีมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนของกลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์ขึ้น
  • ได้ร่างสร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS)
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 54 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง ประกอบไปด้วย กลุ่มทำนาอินทรีย์ กลุ่มผักอินทรีย์ กลุ่มพืชอินทรีย์ กลุ่มเลี้ยงสัตว์อินทรีย์ กลุ่มไม้ดอกอินทรีย์ กลุ่มไม้ผลอินทรีย์ และกลุ่มสมุนไพรอินทรีย์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม4 เมษายน 2560
4
เมษายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ร่วมกันเก็บข้าว
  • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
  • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
  • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
  • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  • ทำให้ผู้ว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย
  1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  3. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกทราย
  4. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  5. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. กำนันตำบลนาปะขอ
  7. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอบางแก้ว
  8. ประมงจังหวัดพัทลุง
  9. เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม29 มีนาคม 2560
29
มีนาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ร่วมกันเก็บข้าว
  • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
  • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
  • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
  • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  • ทำให้ผู้ว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย
  1. ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. นายอำเภอป่าบอน
  3. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  4. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกทราย
  5. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  7. กำนันตำบลโคกทราย
  8. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอป่าบอน
  9. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาป่าบอน
    10.  เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม24 มีนาคม 2560
24
มีนาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้ว่าทำพิธีเปิดและส่งมอบเมล็ดพันธุ์ปอเทือง สนับสนุนโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • ร่วมกันเก็บข้าว
  • มอบเกียรติบัตรให้แปลงที่เข้าร่วมโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้การเก็บข้าวโดยวิถีภูมิปัญญาดังเดิมเพิ่มขึ้น
  • ทำให้กลุ่มเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
  • ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ ลงมือเก็บข้าวได้ด้วยตนเอง
  • ทำให้พี่น้องชาวนาพัทลุงมีความภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
  • ทำให้ผู้ว่าฯ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมทำกิจกรรมด้วยความพร้อมเพียง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย
  1. ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  2. นายอำเภอบางแก้ว
  3. เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  4. นายกเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อและทีมงาน
  5. ประธานสภาเกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  6. เกษตรจังหวัดพัทลุงและทีมงาน
  7. ประธานกรรมการบริษัทประชารัฐรักสามัคคีพัทลุง (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด และทีมงาน
  8. สำนักงานพัฒนาภาค 4 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทย
  9. ครูและนักเรียนโรงเรียนวัดรัตนวราราม
  10. เครือข่ายเกษตรกรอำเภอบางแก้ว
  11. ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาบางแก้ว
  12. กำนัน ตำบลท่ามะเดื่อ
  13. เยาวชนและชาวบ้านในชุมชน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงาน22 มีนาคม 2560
22
มีนาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

แผนงานยุทธศาสตร์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมเรื่องร่างยุทธศาสตร์ข้าวจังหวัดพัทลุง 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพัทลุงชีแจ้งในที่ประชุมว่าขณะนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงนาแปลงใหญ่ เหลือแค่ 300 ไร่ สมาชิก 30 คน ซึ่งพัทลุงสามารถทำนาแปลงใหญ่ได้ง่ายขึ้น

การจำหน่ายข้าวอินทรีย์โดยส่วนใหญ่เกษตรจะจำหน่ายที่กลุ่ม แต่มีจุดด้อยคือไม่สมมารถจัดส่งเป็นปริมาณมากเลยได้ มีการเสนอให้หาแนวทางที่จะสามารถส่งผลผลิตเป็นปริมาณมาก ซึ่งจะส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน ประกอบด้วย กลุ่มชาวนาโรงนาหลานย่าแดง วิชชาลัยรวงข้าว โรงเรียนชาวนา หน่วยงานจากสภาเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping การตลาด อำเภอป่าบอน ปากพะยูน10 มีนาคม 2560
10
มีนาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping การตลาดอำเภอตะโหมด อำเภอกงหรา6 มีนาคม 2560
6
มีนาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping การตลาดอำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสน3 มีนาคม 2560
3
มีนาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping การตลาดป่าพะยอม ศรีบรรพต ศรีนครินทร์26 กุมภาพันธ์ 2560
26
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping การตลาดอำเภอควนขนุนและอำเภอเมือง25 กุมภาพันธ์ 2560
25
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ข้อมูลการผลิตและการส่งต่อข้าวสู่ผู้บริโภค

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลกลุ่มวิสาหกิจ กลุ่มเกษตรที่ผลิตและจำน่ายข้าว โดยสอบถามข้อมูลการผลิต ชนิดข้าว สมาชิกกลุ่ม ราคาการขาย ผู้บริโภค และวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวของผู้บริโภค

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลการตลาดข้าวอินทรีย์
พบว่ากลุ่มผู้บริโภคหลักๆ จะมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มผู้รักสุขภาพทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ 2. กลุ่มข้าราชการในงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สถานีอนามัย องค์การบริหารส่วนตำบล สถานีตำรวจ ธกส. เป็นต้น 3. สมาชิกผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ สำหรับบริโภคในครัวเรือน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อข้าวอินทรีย์
1. เพื่อบริโภคในครัวเรือน 2. เพื่อซื้อเป็นของฝาก 3. เพื่อซื้อเป็นของที่ระลึกในเทศกาลต่างๆ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์
4. เพื่อซื้อเป็นของชำร่วย ของรับไหว้ผู้ใหญ่ในงานแต่งงาน 5. เพื่อสุขภาพที่ดี เนื่องจากผู้บริโภคทราบถึงประโยชน์ของข้าวอินทรีย์ที่มีต่อสุขภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าว อำเภอตะโหมด12 กุมภาพันธ์ 2560
12
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลชื่อเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวันและเก็บพิกัด GPS

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอตะโหมด พบว่าตำบลตะโหมดและตำบลคลองใหญ่มีโรงสีข้าวทั้งหมด 8 โรงสี และอำเภอป่าบอน ในตำบลโคกทราย ทุ่งนารี่ ป่าบอนและวังใหม่ มีโรงสีข้าว 18 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 26 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าว ป่าบอน 11 กุมภาพันธ์ 2560
11
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโดยสอบถามข้อมูลชื่อเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอปากพะยูนและอำเภอป่าบอน อำเภอปากพะยูนพบว่าตำบลหารเทามีโรงสี 4 โรงสี อำเภอป่าบอน ตำบลโคกทรายมีโรงสี 12 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 16 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด6 กุมภาพันธ์ 2560
6
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอกงหราและตะโหมด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด อำเภอกงหราลงสำรวจคลองทรายขาวมีโรงสีข้าว 4 โรง
อำเภอตะโหมดลงสำรวจตำบลแม่ขรีมีโรงสีข้าว 1 โรง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอเขาชัยสน5 กุมภาพันธ์ 2560
5
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอเมือง อำเภอกงหรา และอำเภอเขาชัยสน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมือง อำเภอกงหรา อำเภอเขาชัยสน อำเภอเมืองเก็บข้อมูลในตำบลพญาขัน ตำบลชัยบุรี มีโรงสีข้าวทั้งหมด 3 โรงสี อำเภอกงหราเก็บข้อมูลในตำบลกงหรา ตำบลชะรัด ตำบลสมหวัง ตำบลคลองเฉลิม มีโรงสีข้าวทั้งหมด 10 โรงสี อำเภอเขาชัยสนเก็บข้อมูลในตำบลเขาชัยสนและตำบลเขาชัยสน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 14 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 27 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอปากพะยูน4 กุมภาพันธ์ 2560
4
กุมภาพันธ์ 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอปากพะยูน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลโรงสีข้าวในอำเภอปากพะยูน ได้ลงสำรวจข้อมูลในตำบลดอนประดู่และดอนทราย มีโรงสีทั้งหมด 16 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 16 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอบางแก้ว30 มกราคม 2560
30
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอบางแก้ว

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอบางแก้ว สำรวจข้อมูลในตำบลนาปะขอ ตำบลท่ามะเดื่อ ตำบลโคกสัก มีโรงสีทั้งหมด 9 โรงสีข้าว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 9 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง29 มกราคม 2560
29
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูลเจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน เก็บพิกัด GPS ในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน
อำเภอเมืองเก็บข้อมูลในตำบลนาโหนด ร่มเมือง ปรางหมู่ ชัยบุรี ทั้งหมด 22 โรงสี
อำเภอเขาชัยสนเก็บข้อมูลในตำบลเขาชัยสน ตำบลโคกม่วง ตำบลควนขนุน 20 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 42 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง28 มกราคม 2560
28
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสีข้าว เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และพิกัด GPS ในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมืองและอำเภอเขาชัยสน พบว่าอำเภอเมือง เก็บข้อมูลในตำบลลำปำ ตำบลควนมะพร้าว ตำบลตำนาน ตำบลท่าแค ตำบลท่ามิหรำ ตำบลนาโหนด มีโรงสีทั้งหมด 19 โรงสี อำเภอเขาชัยสน เก็บข้อมูลในตำบลเขาชัยสน ตำบลควนขนุน และตำบลจองถนน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 17 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 36 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม 22 มกราคม 2560
22
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสี เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS ในอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จาการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม
อำเภอเมืองลงเก็บข้อมูลในตำบลโคกชะงาย เขาเจียก ควนมะพร้าว มีโรงสีข้าวทั้งหมด 15 โรงสี อำเภอป่าพะยอมเก็บข้อมูลในตำบลบ้านพร้าว บ้านพร้าว ป่าพะยอม มีโรงสีข้าวทั้งหมด 10 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าว อำเภอศรีนครินทร์ 21 มกราคม 2560
21
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสี เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS ในอำเภอศรีนครินทร์และอำเภอเมือง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลในอำเภอศรีนครินทร์และอำเภอเมือง อำเภอศรีนครินทร์ลงเก็บข้อมูลในตำบลชุมพล อ่างทองพบว่ามีโรงสีข้าวทั้งหมด 9 โรงสี
อำเภอเมืองลงเก็บข้อมูลในตำบลนาท่อม ท่ามิหรำ พบว่ามีโรงสีข้าว 6 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน15 มกราคม 2560
15
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เก็บข้อมูลโรงสีข้าว โดยสอบถามข้อมูล ชื่อโรงสี เจ้าของโรงสี ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดต่อวัน และเก็บพิกัด GPS ในอำเภอศรีบรรพต ศรีนครินทร์และอำเภอเมือง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงเก็บข้อมูลในอำเภอศรีบรรพต ศรีนครินทร์และอำเภอเมือง อำเภอศรีบรรพตซึ่งได้เก็บข้อมูลในตำบลเขาย่า เขาปู่และตะแพน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 9 โรงสี อำเภอศรีนครินทร์เก็บข้อมูลในตำบลชุมพล บ้านนา ลำสินธุ์ มีโรงสีข้าวทั้งหมด 5 โรงสี
อำเภอเมืองเก็บข้อมูลในนาขยาด แพรกหา ดอนทราย มีโรงสีข้าวทั้งหมด 16 โรงสี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน14 มกราคม 2560
14
มกราคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เก็บข้อมูลโรงสี 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สอบถามข้อมูลเกษตรกรโดยเล่าความเป็นมาของโครงการและการลงพื้นที่เก็บข้อมูลครั้งนี้ โดยสอบถามข้อมูลเบื้องต้น ผู้เป็นเจ้าของโรงสีข้าว ที่อยู่ กำลังผลิตสูงสุดของโรงสี เก็บพิกัด GPS

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการเก็บข้อมูลโรงสี พบว่าในตำบลพนางตุง ทะเลน้อย ปันแต โตนดด้วน พนมวังก์ มะกอกเหนือ และควนขนุน มีโรงสีข้าวทั้งหมด 34 โรงสี ซึ่งโรงสีส่วนใหญ่จะเป็นโรงสีข้าวที่ใช้ในการในแบบครัวเรือนจะมีชาวบ้านนำข้าวมาสีบ้างเป็นครั้งคราว โดยจะมีการเก็บค่าบริการสีข้าวกระสอบละ 10-20 บาท ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่จะทำนาปี ซึ่งมีข้าวสังข์หยด ข้าวเล็บนกเป็นหลักและจะมีข้าวชนิดอื่นๆ เช่นข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวหอมราชินี ข้าวหอมประทุม เป็นต้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 34 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

เกษตรกรที่มีโรงสีข้าว เกษตรกร ชาวบ้าน กลุ่มวิสาหกิจที่มีโรงสีข้าว

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประสานงาน สจรส.17 ตุลาคม 2559
17
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ส่งเอกสารการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ส่งรายงานการเงิน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สจรส. ตรวจรายงานความก้าวหน้าและเอกสารการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประสานงาน สจรส.30 กันยายน 2559
30
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย hsmiscac
circle
วัตถุประสงค์

ส่งเอกสารการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

-

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้12 กันยายน 2559
12
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

แบ่งหน้าที่ัรับผิดชอบในงานสร้างสุขภาคใต้ และชี้แจงรายละเอียดในงานสร้างสุขภาคใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประธานประชุมเพื่อแบ่งหน้าที่โดยมีหน้าที่ดังนี้
1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที 4. หน้าที่เตรียมข้าว 40 สายพันธุ์
5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์
7. หน้าที่เตรียมและเฝ้านิทรรศการ 8. หน้าที่การเพาะข้าว 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ท่านประธาน (คุณสุทธิชัย) ชี้แจงรายละเอียดเรื่องธีมที่ใช้ในการจัดนิทรรศการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ในหัวข้อ "ความมั่นคงทางด้านอาหาร : การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร" ชี้แจงกำนดการงานเสวนาในห้องย่อย "ความมั่นคงทางด้านอาหาร : แกะรอยข้าวใต้ ใครทำ ใครกิน" และแจ้งในที่ประชุมเรื่องจำนวนผู้เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้โดยต้องส่งชื่อ ที่อยู่ เลขบัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์ และอาหาร ภายในวันที่ 15 กันยายน 2559 รวมทั้งรายละเอียดการเดินทาง การเบิกจ่ายและที่พักสำหรับผู้ที่จัดนิทรรศการ ท่านประธานได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง รับผิดชอบโดย คุณสุทธิชัย 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า รับผิดชอบโดยคุณสุทัศน์ 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที รับผิดชอบโดย คุณผาณิต 4. หน้าที่ติดต่อและเตรียมข้าว 40 สายพันธุ์ รับผิดชอบโดย อ.ดร.เชิดศักดิ์
5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร รับผิดชอบโดยคุณผานิต 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์ รับผิดชอบโดย อ.ดร.เชิดศักดิ์
7. หน้าที่จัดและเฝ้านิทรรศการ คณะทำงาน 8. หน้าที่การเพาะข้าว รับผิดชอบโดย คุณผานิต 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา รับผิดชอบโดย อ.เทพรัตน์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 14 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คลัสเตอร์ข้าวสังข์หยดพัทลุง กลุ่มเกษตรกรทำนาตะโหมด  โรงนาหลานย่าแดง วิสาหกิจชุมชนบ้านเขากลาง 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ระดมความเห็นเสนอโครงการจังหวัด7 กันยายน 2559
7
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย hsmiscac
circle
วัตถุประสงค์

เขียนโครงการเสนอจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด6 กันยายน 2559
6
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย hsmiscac
circle
วัตถุประสงค์

เขียนโครงการเสนอจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด5 กันยายน 2559
5
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เขียนโครงการเสนอจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการเสนอจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 13 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานระดมความเห็นทำ Project idea2 กันยายน 2559
2
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

จัดทำแบบสรุปโครงการแบบย่อ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แบบสรุปโครงการแบบย่อ 2 ยุทธศาสตร์

  1. การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น กลยุทธ์ แผงานสร้างเมืองลุงให้เป็นเมืองเศรษฐกิจทางการเกษตร โดยแบ่งเป็น 2 โครงการ
    • โครงการยกระดับภูมิปัญญาชาวนาสู้โรงเรียนเกษตรกรอินทรีย์
    • โครงการพัฒนาผลิตข้าวอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง
  2. พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พร้อมดำเนินโครงการทันที กลยุทธ์ พัฒนาข้าวพื้นเมืองปลอดภัยและได้มาตรฐาน (GAP) และอินทรีย์
    • มหกรรมวันข้าวและชาวนาพัทลุง (24 กันยายนของทุกปี )
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดนิทรรศการงานสร้างสุข ธีม การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร2 กันยายน 2559
2
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

จัดนิทรทศการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การประชุมโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และ การเตรียมงานสร้างสุขกับทาง สจรส.29 สิงหาคม 2559
29
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

แบ่งภาระหน้าที่การทำงาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ท่านประธานแจ้งเรื่อง คำสั่งคณะกรรมการจัดทำแผ่นแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงให้ทาง สจรส. ทราบ ซึ่งลงรายละเอียดว่ามีทั้งหมด 3 ชุด คณะทำงาน ได้แก่

- ชุดคณะอนุกรรมการจัดทำฐานข้อมูลการผลิตข้าวอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุง - ชุดคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ - ชุดคณะกรรมการอนุกรมขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง 2. เรียนแจ้งถึงความเป็นมาที่จัดตั้งขึ้นร่วมไปถึงการทำงานก่อนจะมี      ทีม สจรส. เข้ามาให้ความร่วมมือ และได้แนะนำคณะกรรมการชุดเล็กให้กับ      ทีม สจรส. ทราบโดยในที่ประชุมยังให้เกียรติเรียนเชิญ ท่านผู้ใหญ่ นัด อ่อนแก้ว เป็นที่ปรึกษาของทีมอีกหนึ่งท่าน โดยมีรายชื่อดังนี้
กรรมการในโครงการวิจัยโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ร่วมกับ สจรส. คณะที่ปรึกษา 1. นายเทพรัตน์ จันทพันธ์    ประธานที่ปรึกษา 2. นายเทอด นมรักษ์          ที่ปรึกษา 3. นายสมคิด สงเนียม          ที่ปรึกษา 4. นายสำเริง แซ่ตัน            ที่ปรึกษา 5. นาย นัด อ่อนแก้ว          ที่ปรึกษา คณะทำงาน 1. ดร. เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์              ประธานคณะทำงาน 2. นาย เสณี จ่าวิสูตร                  กรรมการ 3. นางสาว เบญจวรรณ บัวขวัญ      กรรมการ 4. นาย สุทธิชัย กาฬสุวรรณ          กรรมการ 5. นาย อำมร สุขวิน                    กรรมการ 6. นายอำนาจ เกตุขาว                กรรมการ 7. นางสาว ธิดา คงอาษา              กรรมการ 8. นางสาว เบญจวรรณ เพ็งหนู      กรรมการ 9. นางสาว จุฑาธิป ชูสง              กรรมการ 10. นาง นทกาญจน์ อัพภาสกิจ        เลขานุการ 11. นางสาว สุจิวรรณ พวงพริก        ผู้ช่วยเลขานุการ 3. ท่านประธานเรียนแจ้งแผนการประชุมประจำเดือนทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน จนสิ้นสุดโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2560

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงาน19 สิงหาคม 2559
19
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

จัดทำโครงการย่อย (Project brief) 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดทำโครงการย่อยต่อ 

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการย่อย 8 โครงการ

  1. โครงการสนับสนุนและการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์
  2. จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ผ่านมาตรฐานรับรองให้ใช้ในแปลงเกษตรอินทรีย์ 4,000 ตัน
  3. ปรับปรุงพื้นที่นาให้เหมาะสมเพื่อทำนาอินทรีย์
  4. โครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อเกษตรกรรายย่อย 2,000 บาท ต่อไร่
  5. จัดซื้อเครื่องบรรจุภัณฑ์ เครื่องซีลสูญญากาศ เครื่องมือแปรรูปผลิตภัณฑ์
  6. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาหลักสูตรและเชื่อมโยงสู่โรงเรียนเกษตร
  7. จัดทำศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงครบวงจร (อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ข้าวและชาวนาพัทลุง)
  8. โครงการวันข้าวและชาวนาพัทลุง 24 กันยายนของทุกปี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานรวบรวมข้อมูลจัดทำ Project brief18 สิงหาคม 2559
18
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

จัดทำโครงการแบบย่อ (Project brief)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รวบรวมข้อมูลจากคณะทำงาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการย่อย 8 โครงการ

  1. โครงการสนับสนุนและการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์
  2. จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ผ่านมาตรฐานรับรองให้ใช้ในแปลงเกษตรอินทรีย์ 4,000 ตัน
  3. ปรับปรุงพื้นที่นาให้เหมาะสมเพื่อทำนาอินทรีย์
  4. โครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อเกษตรกรรายย่อย 2,000 บาท ต่อไร่
  5. จัดซื้อเครื่องบรรจุภัณฑ์ เครื่องซีลสูญญากาศ เครื่องมือแปรรูปผลิตภัณฑ์
  6. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาหลักสูตรและเชื่อมโยงสู่โรงเรียนเกษตร
  7. จัดทำศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงครบวงจร (อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ข้าวและชาวนาพัทลุง)
  8. โครงการวันข้าวและชาวนาพัทลุง 24 กันยายนของทุกปี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 8 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการปรับกิจกรรมเพื่อทำแผนยุทธศาสตร์17 สิงหาคม 2559
17
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ปรับยุทธศาสตร์ 1 และ 3 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์ 1 ชี้แจงเรื่องการปรับแผนงานโครงการ จัดกลุ่มกิจกรรมด้านเกษตรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการเสนอเพิ่มเติมในส่วนของแผนงานที่ขาด 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุม ทีมเศรษฐกิจและสังคม16 สิงหาคม 2559
16
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุมทีมเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

-

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงาน15 สิงหาคม 2559
15
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

แผนงานยุทธศาสตร์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหรกรรมค่อเนื่องจากการเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมเสนอโครงการเข้าแผนยุทธศาสตร์เกษตรของ จ.พัทลุง11 สิงหาคม 2559
11
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เสนอยุทธศาสตร์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์พัทลุงและเสนอแผนนาอินทรีย์ให้เป็นแผนงบประมาณ ปี 2561-2564 

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

()

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนโครงการเสนอยุทธศาสตร์ จ.พัทลุง10 สิงหาคม 2559
10
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เขียนแผนยุทธศาสตร์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานทำแผนยุทธศาสตร์9 สิงหาคม 2559
9
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เขียนแผนยุทธศาสตร์

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แผนยุทธศาตร์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่8 สิงหาคม 2559
8
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุจิวรรณ พวงพริก
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปรึกษารูปแบบการสนับสนุนชาวนา แบบปัจเจก หารือโมเดลกองทุน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมเตรียมงานรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่28 กรกฎาคม 2559
28
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุจิวรรณ พวงพริก
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาแผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเด็นการสร้างพื้นที่นาแปลงใหญ่

  • ให้เป็นเกษตรที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน 1,000 ไร่(ในปีแรก) เพิ่มขึ้นประมาณ 20 %จากของเดิม
  • การทำนาแบบปลอดภัยหรือปรับเปลื่ยน (GAP) 3,000 ไร่
  • เงื่อนไขสนับสนุน 2,000 บาทต่อไร่
  • กลไกการสนับสนุนปัจเจก

ประเด็นการสร้างการเรียนรู้

  • แหล่งเรียนรู้ ตามระบบนิเวศน์ กับการจัดการที่ดี (Model กลุ่มและปัจเจก)
  • โรงเรียนชาวนา 11 โรงทั่วจังหวัด เป็นชาวนารุ่นใหม่
  • ปราชญ์ชาวนา
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประเด็นกลไกการทำงาน
    • ให้มีตัวแทนชาวนาเกษตรอินทรีย์อยู่ในคณะกรรมการร่วมภาครัฐเอกชน (ตัวแทน กรอ.)
  2. งานรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
  3. โมเดลกองทุน (สร้างแรงจูงใจ) ที่มา (เงินมาจากไหน)
    • ลงขันร่วมกันระหว่าง 4 เส้า รัฐ เอกชน ท้องถิ่น ชุมชน(หารือว่ารูปแบบควรเป็นอย่างไร)
    • ภาษีรังนก 30% โดยเสนอเป็นการใช้กองทุนสิ่งแวดล้อม เพราะการทำนาอินทรีย์ เป็นการดูแลสิ่งแวดล้อม นกมีอาหารกิน
    • สปสช. ระดับตำบล (กำหนดแผนเพื่อเสนอให้ผู้ที่จะทำนาเกษตรอินทรีย์ได้ใช้เงินก้อนนี้)
  4. งานวิจัยการตลาด แปรรูป
  5. ให้มี กรรมการข้าวระดับจังหวัดที่ดูภาพรวมการจัดการข้าวระดับจังหวัด ทั้งในเรื่องการผลิต การตลาด งานวิจัย การตรวจสอบมาตรฐาน ติดตามประเมินผลโครงการต่างๆ และเชื่อมโยงคณะกรรมการ กรอ. และคณะกรรมการข้าวระดับชาติ
  6. เสนอให้หน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัดที่มีบทบาทในการทำงานวิจัย เช่น สวพ. ศูนย์วิจัยและพัฒนาเขต 8 ศูนย์วิจัยข้าว ม.ทักษิณ วิทยาลัยเกษตร วิทยาลัยการอาชีพ ทำยุทธศาสตร์หรือแผนส่งเสริมการวิจัยข้าวอินทรีย์ครบวงจร
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน
  • การสร้างพื้นที่นาแปลงใหญ่
  • การสร้างการเรียนรู้
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. กลไกการจัดการ(ใครจะจัดการอย่างไร) เช่น นิติบุคคลทางกฎหมาย หรือ ท้องถิ่น กรณีปัจเจก บุคคลที่พร้อมจะปรับเปลี่ยน สามารถเข้าถึง กลุ่มที่จะเข้าถึง พื้นที่ระดับหมู่บ้านที่จะเข้าถึง
  2. มีคณะกรรมการพิจารณา (ใครเป็นกรรมการ)
  3. ต้องมีเอกสารให้ผู้ที่จะขึ้นทะเบียนเป็นเกษตรอินทรีย์ รูปแบบอย่างไร มีคณะกรรมการ พิจารณา (กี่ขั้นตอน)
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนใต้21 กรกฎาคม 2559
21
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย เสณี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแสดงความคิดเห็นจัดทำแผนงานการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ให้เป็นแผนยุทธศาสร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ลงทะเบียนและแจกเอกสารประกอบผู้เข้าร่วมได้ศึกษา
  2. ดำเนินรายการชี้แจ้งที่มาโดย นายเสณี จ่าวิสูตร ได้เล่าถึงวัตถุประสงค์ของเวที ว่าต้องการให้ผู้เข้าร่วมได้มีส่วนร่วมในการออกแบบยุทธศาสตร์การทำนาอินทรีย์ของคนพัทลุงเพื่อเข้ากำหนดเป็นยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบและผลักดันให้เกิดการทำนาอินทรีย์ และให้ผู้เข้าร่วมได้แนะนำตนเอง
  3. เวทีเปิดเมื่อเวลา 9.30 น. โดย รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง นายอนุรัฐ ไทยตรง ทบทวนวิสัยทัศน์จังหวัดพัทลุง เกษตรยั่งยืนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และคุณภาพชีวิตที่ดีสถานการณ์พัทลุงนั้นพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรยั่งยืนยังน้อยอยู่ภาคส่วนต่างขับเคลื่อนอย่างไรให้มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ส่วนของผู้บริโภคมีกระแสของการดูแลสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม บริโภคผลผลิตจากระบบเกษตรอินทรีย์การขับเคลื่อนตั้งแต่ต้นน้ำกลางน้ำ ปลายน้ำเพื่อให้ชาวนามีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดของไทยหลายจังหวัดเขาเคลื่อนมาก อย่างยโสฯก็เคลื่อนมาให้เป็น 100000 ไร่ ที่จังหวัดอื่นเขาก็ขับมากเพราะคนอยากกินข้าวอินทรีย์ ตอนผมอยู่ที่หนองคาย ฝรั่งเขาเข้ามาถามผมว่าอยากกินข้าวอินทรีย์ กินผักปลอดภัยจะหาซื้อได้ที่ไหน ก็แนะนะว่าโรงพยาบาลอำเภอน่าจะมี หรือไปหาแถวร้านดอยคำ ฝรั่งเขากลัวมากเรื่องเคมี เขาบอกว่าคนไทยไม่น่าใส่ปุ๋ยสารเคมีมากขนาดนี้ บ้านเขาใช้น้อยมาก
  4. นายเทพรัตน์ จันทพันธุ์ ผอ.วิทยาลัยภูมิปัญญา ได้นำเสนอให้ผู้เข้าร่วมเห็นความสำคัญที่ต้องผลักดันการการนาอินทรีย์ ว่ามีความสำคัญในหลายด้าน และแนวโน้มของตลาดจะมีกว้างขึ้น รวมทั้งเสนอให้เห็นถึงการเคลื่อนงานของวิทยาลัยภูมิปัญญาที่ได้ทำงานกับหลายภาคส่วนเพื่อที่จะผลักดันในเรื่องนี้ ภาพรวมข้าวอินทรีย์มี 2 ส่วนที่ต้องร่วมกัน คือ 1) หน่วยงานซึ่งที่ผ่านมาก็มีท่านรองผู้ว่ามาเป็นหลัก มาร่วมทุกเวที มีหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก็คือเกษตรจังหวัด เกษตรสหกรณ์จังหวัด เป็นต้น 2) ภาคเอกชน ต้องมาช่วยกันคิดในเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ ต้องคิด start up คือให้มองว่าตัวเล็กๆ สามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้
  5. หัวหน้าสนง.เกษตรสหกรณ์จังหวัดพัทลุงได้มาเสนอสิ่งที่หน่วยงานกำลังวางแผนและดำเนินการ บอกว่าในปัจจุบันกำลังทำชวนเข้าร่วมงานตลาดปลอดสารพิษ วันที่ 25 กรกฎาคม2559ณ บนถนนหน้าสำนักงานเกษตร
  6. ช่วงต่อมาเป็นการแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อยเพื่อร่วมเสนอวิธีการหาแนวร่วมในการเพิ่มพื้นที่และผลผลิต โดย
    • ทำอย่างไรที่จะชวนคนที่ยังไม่คิดยังไม่เริ่มมาร่วม
    • ทำอย่างไรให้กลุ่มคนที่ทำอยู่แล้วทำมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  7. วงใหญ่ นำเสนอผลการแลกเปลี่ยนกลุ่มย่อยและแลกเปลี่ยนเพิ่มเติม สรุปการประชุม ปิด
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แบ่งกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม เพื่อร่วมเสนอ วิธีการหาแนวร่วมในการเพิ่มพื้นที่และผลผลิต 1. ทำอย่างไรที่จะชวนคนที่ยังไม่คิดยังไม่เริ่มมาร่วม 2. ทำอย่างไรให้กลุ่มคนที่ทำอยู่แล้วทำมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัจจุบันพื่นที่ยังมีน้อย เพราะมีปัญหาหลายด้าน ที่สำคัญคือชาวนายังมองไม่เห็นตลาดจึงขาดแรงจูงใจขาดความรู้ขาดข้อมูลในทุกด้านรวมทั้งปัญหาสิ่งแวดล้อมรอบข้างเพราะคนทั่วไปยังใช้สารเคมี


ทางแก้สร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างครบวงจร ด้านการผลิต กระบวนการปลูก การจัดการเมล็ดพันธุ์การทำแนวกันชน เช่น กาปรับคันนา การทำปุ๋ยอินทรีย์ ผลักดันชาวบ้านให้ทำวิจัยทดลองด้วยตนเองในทุกขั้นตอนทั้งในเรื่องการปรับปรุงดิน น้ำ และการผลิตแปรรูป มีการสร้างการสนับสนุนคนรุ่นใหม่ เช่น ให้เด็กได้มีโอกาสกินข้าวอินทรีย์ ในระบบโรงเรียน และมีการให้ข้อมูลที่ดี อย่างเป็นระบบจากโรงเรียน เป็นการปลูกฝั่ง ให้ทุนนักเรียนชาวนาหรือรวมทั้งสนับสนุน ในบางโรงเรียน ที่มี พื้นที่นา ให้มีการทำนาอินทรีย์เป็นแหล่งเรียนรู้

ทางแก้ส่วนที่ 2. ส่วนของการผลิต สร้างระบบการตรวจสอยมาตราฐาน ดิน น้ำ ปุ๋ย ผลผลิตที่ครบวงจร มีระบบหรือโรงงานทำปุ๋ยอินทรีย์ที่มีมาตราฐานขายในราคาพอเหมาะ และเป็นของชาวนาจังหวัดพัทลุง โดยอาจทำเป็นสหกรณ์ปุ๋ยอินทรีย์ มีกระบวนการให้ความรู้ ส่งเสริมการผลิต เพิ่มพื้นที่นาข้าว มีแปลงนำร่อง กระจายทั่วทั้งจังหวัดเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย ใกล้บ้าน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
  1. ให้มีกระบวนการสร้างแรงจูงใจเรื่องราคารายได้ที่มั่นคง ชวนให้ลดละเลิกการใช้สารเคมี มีการดูงานและศึกษาแปลงที่ประสบความสำเร็จ หรือ สร้างแปลงที่ทำสำเร็จแล้วเป็นแหล่งเรียนรู้


  2. ทำแปลงสาธิตอย่างน้อย อำเภอละ 1 จุดเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ จัดสาธิตให้เห็นกระบวนการทำนาอินทรีย์ตั้งแต่ปลูกถึงเก็บเกี่ยว

3.สร้างการเรียนรู้ว่าการทำนาอินทรีย์ สามารถคืนสมดุลให้กับธรรมชาติ

4.พันธู์ข้าว ควรมีวิธีการเก็บเอง

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

จะเพิ่มพื้นที่อย่างไรให้มีคุณภาพ

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปเวทีโซนเหนือ12 กรกฎาคม 2559
12
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

สรุปเวทีโซนเหนือและเตรียมเวทีโซนใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนเหนือ11 กรกฎาคม 2559
11
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุจิวรรณ พวงพริก
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น4 กรกฎาคม 2559
4
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

สรุปข้อมูลและเตรียมเวทีโซนเหนือ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนกลาง1 กรกฎาคม 2559
1
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุจิวรรณ พวงพริก
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดทำ Mapping สถานการณ์ข้าวเคมี และข้าวอินทรีย์30 มิถุนายน 2559
30
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

ทำ mapping ข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เรียนรู้การบูรณาการเพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและความปลอดภัย
  • ความต้องการของผูู้ให้ทุน (สจรส.) คือต้องการข้อมูลเพื่อนำไปผลักดันเป็นยุทธศาสตร์
  • เรียนรู้หลักการจัดการงบประะมาณของ สจรส.
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมเวทีรับฟังความคิดเห็นระดับอำเภอ28 มิถุนายน 2559
28
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เตรียมเวทีรับฟังความคิดเห็น

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

  • ฝ่ายเวทีและกิจกรรม รับผิดชอบโดย คุณจิ้มและคุณเสณี
  • ฝ่ายข้อมูล รับผิดชอบโดยคุณนัท
  • ฝ่ายลงทะเบียนและหนังสือเชิญรับผิดชอบโดย คุณจอย
  • ฝ่ายบันทึกข้อมูลและภาพ รับผิดชอบโดยเจ้าหน้าที่สภาเกษตร
  • ฝ่ายต้อนรับ รับผิดชอบโดยคุณสุทธิชัย ผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวความเป็นมาของโครงการและกล่าวรายงานต่อประธาน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 7 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะทำงานเตรียมวางแผนกาขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์18 มิถุนายน 2559
18
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

เตรียมแผนการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ระดับจังหวัด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้หัวข้อในการจัดเวที

  1. การวิจัยพัฒนา
  2. การบริหารดินและน้ำ
  3. การจัดการมาตรฐานเกษตร
  4. การสร้างมูลค่าเพิ่มและการจัดการตลาด
  5. การรวมกลุ่ม
  6. การพัฒนายกระดับแหล่งเรียนรู้
  7. การพัฒนานโยบายท้องถิ่น โดยแบ่งเป็น 3 โซน เหนือ กลาง ใต้ เวทีประมาณ 50-70 คน โดยมีผู้เกี่ยวข้องในหลายส่วน ทั้งชาวนา เจ้าของกิจการ วิสาหกิจ กลุ่มธุรกิจ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 12 คน จากที่ตั้งไว้ 20 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการแผนแม่บทข้าว28 พฤษภาคม 2559
28
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เกตุทอง
circle
วัตถุประสงค์

แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะอนุกรรมการทั้ง 2 ทีม เสนอแผนงานย่อย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-