สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง) ”

ม.7 ต.ปลักหนู อ.นาทวี จ.สงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านสม็อง (0845815809)

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง)

ที่อยู่ ม.7 ต.ปลักหนู อ.นาทวี จ.สงขลา จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.7 ต.ปลักหนู อ.นาทวี จ.สงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.7 ต.ปลักหนู อ.นาทวี จ.สงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคตแต่ในปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหาร พืช ผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆได้ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและการเจ็บป่วยโดยไม่จำเป็นและปัญหาอื่นๆในบริบทของสังคมไทยที่ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน นอกจากการสร้างมาตรการป้องกันและการบังคับใช้กฎหมาย การส่งเสริมกิจกรรมทางสุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคู่กันไปจะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองอย่างปลอดภัย โรงเรียนบ้านสม็องเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช2542และนโยบายของรัฐบาล โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนชั้น ป1-6 ทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียนเพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน ส่วนผลผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับความรู้และฝึกทักษะในการทำงานด้านอาชีพเบื้องต้นและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตของตนเองและพัฒนาอาชีพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
  2. นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม
  3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบการที่ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผักปลอดสารพิษ
  2. กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย
  3. กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนระดับชั้น ป.1-6 200

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนได้นำหลักการนี้ไปใช้ในการคำรงชีวิตโรงเรียนจึงได้นำหลักการปรับใช้เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้กับนักเรียนด้านทักษะอาชีพทางเกษตรพื้นฐานที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี โรงเรียนจึงได้วางโครงการเพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและความปลอดภัยรู้จักเลือกการบริโภคอาหารที่ปลอดสารพิษและส่งเสริมนักเรียนปลูกผักและผลิตปุ๋ยชีวภาพแทนปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มรายได้แก่ครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและการเตรียมพื้นที่ในการเพาะปลูก

วันที่ 24 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อเข้าฐานต่างๆ คุณครูผู้ดูแลฐานให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และมีการจัดเตรียมสถานที่เพาะปลูก เพาะเห็ดนางฟ้าและเพาะพันธุ์ผัก   มีการแบ่งฐานการเรียนรู้การปลูกผักจำนวน 3 ฐาน
1. ฐานการเรียนรู้การอนุรักษ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพร
- ต้นจิก
- ต้นผักหวาน
- พันธ์ผักกูด
- ต้นมันปู
- มะม่วงหิมพานต์
- ตะไคร้
2. ฐานการเรียนรู้พืชผักอายุสั้น
- ผักบุ้ง
- ผักคะน้า
- ผักกาด
- ถั่วเขียว (การเพาะถั่วงอก)
3. ฐานการเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ เกิดแปลงผักสำหรับทำฐานต่างๆ
จากการแบ่งฐานการเรียนรู้การปลูกผักจำนวน 3 ฐาน
1. ฐานการเรียนรู้การอนุรักษ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพร
- ต้นจิก
- ต้นผักหวาน
- พันธ์ผักกูด
- ต้นมันปู
- มะม่วงหิมพานต์
- ตะไคร้
2. ฐานการเรียนรู้พืชผักอายุสั้น
- ผักบุ้ง
- ผักคะน้า
- ผักกาด
- ถั่วเขียว (การเพาะถั่วงอก)
3. ฐานการเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า

 

200 0

2. กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 31 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนเข้าฐานของตนเอง จากการแบ่งฐานการเรียนรู้การปลูกผักจำนวน 3 ฐาน และเริ่มดำเนินการปลูกผัก
1. ฐานการเรียนรู้การอนุรักษ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพร เพือเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและเป็นการอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน
- ต้นจิกจำนวน 10 ต้น
- ต้นผักหวาน จำนวน 10 ต้น
- พันธ์ผักกูด จำนวน 50 ต้น
- ต้นมันปู จำนวน 10 ต้น
- มะม่วงหิมพานต์จำนวน 10 ต้น
- ต้นตะไคร้ จำนวน 20 กอ
2. ฐานการเรียนรู้พืชผักอายุสั้น
- ผักบุ้ง
- ผักคะน้า
- ผักกาด
- การเพาะถั่วงอก
4. ฐานการเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้เข้าฐานของตนเองและดำเนินการปลูกผัก จากการแบ่งฐานการเรียนรู้การปลูกผักจำนวน 3 ฐาน
1. ฐานการเรียนรู้การอนุรักษ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพร เพือเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียนและเป็นการอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน
- ต้นจิกจำนวน 10 ต้น
- ต้นผักหวาน จำนวน 10 ต้น
- พันธ์ผักกูด จำนวน 50 ต้น
- ต้นมันปู จำนวน 10 ต้น
- มะม่วงหิมพานต์จำนวน 10 ต้น
- ต้นตะไคร้ จำนวน 20 กอ
2. ฐานการเรียนรู้พืชผักอายุสั้น
- ผักบุ้ง
ผักบุ้ง 2 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานเดือนละ 6 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 24 กิโลกรัม - ผักคะน้า
ผักคะน้า 2 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานเดือนละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 22 กิโลกรัม
- ผักกาด
ผักกาด 2 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานเดือนละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม
- เพาะถั่วงอก เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานครั้งละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 10 กิโลกรัม 4. ฐานการเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า
ผลผลิตได้เห็ดสำหรับโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการได้ 50 กิโลกรัม

 

200 0

3. กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการจัดจำหน่ายผลผลิตผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน เมื่อมีผลผลิต ประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

น.ร ได้มีการจัดจำหน่ายผลผลิตผักปลอดสารพิษ เมื่อมีผลผลิตประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือทุกครั้งที่มีผลผลิต
ณ บริเวณโรงเรียนบ้านสม็อง

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนร้อยละ80มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ
30.00 30.00

นักเรียนมีความสนใจและนำความรู้ไปปฏิบัติ

2 นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : 2.นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม
40.00 40.00

เด็กให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

3 เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบการที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย
30.00 30.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนระดับชั้น ป.1-6 200

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีปลูกพืชผักและสามารถปฎิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน (2) นักเรียนร้อยละ 80 มีทัศนคติที่ดีขึ้นเกี่ยวกับอาชีพเกษตรกรรม (3) เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบการที่ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักปลอดสารพิษ (2) กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย (3) กิจกรรมตลาดนัดเถ้าแก่น้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนบ้านสม็อง (โรงเรียนบ้านสม็อง) จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านสม็อง (0845815809) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด