สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปี โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร และนักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีอาหารกลางวันที่ถูกหักโภชนาการและมีโภชนาการสมวัย
178.00 178.00

1.นักเรียนได้รับประทานเมนู่จาก ผัก ปลาดุก จากโครงการฯ

2.ผลผลิตที่ป้อนสู่โรงครัวของโรงเรียน เกิดเป็นเมนูอาหารกลางให้กับนักเรียน จำนวน 178 คน

3.ผลผลิตที่ได้จากโครงการฯ เช่นผัก ปลาดุก เมีความปลอดภัย

4.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

2.ผลผลิตมีความปลอดภัย

3.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ดีขึ้น
178.00 178.00

นักเรียนได้รับประทานอาหารปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดีขึ้น

1.ผลผลิตมีความปลอดภัย

2 .นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

สังเตจากพฤติกรรมของนักเรียนในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์