1.นักเรียนชั้นประถมศึกษา ได้เก็บผักที่ปลูกในล้อยาง ส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน จำนวน 5-10 กิโลกรัม/สัปดาห์
2.ผักที่เหลือจากโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ได้จัดจำหน่ายในราคาถูกให้กับชุมชน และผู้ปกครองในการนำไปประกอบอาหาร
1.นักเรียน 159 คน ได้กินผักเพิ่มมากขึ้น
2.ผักที่ปลูกมีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี
3.แม่ครัวสามารถนำผักที่นักเรียนปลูกมาจัดเป็นเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน
ผู้ปกครองและนักเรียน (เด็กเล็ก) ร่วมกันปลูกผัก เช่น ผักสวนครัว พริก มะเขือ ในล้อยาง ซึ่งผู้ปกครองจะรับผิดชอบร่วมกับนักเรียนในการดูแลแปลงผัก 1ล้อ/ครอบครัว ส่วนเด็กโต ชั้นประถมจะปลูกเป็นผักกินใบ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ในล้อยาง จำนวน 159 ลูก
1.มีผักที่ปลูกในล้อยางได้จำนวน 159 ลูก
2.ผักที่ปลูกมีความหลากหลาย ทั้งผักสวนครัวและผักกินใบ
3.ผู้ปกครองมีส่วร่วมในการปลูกผักร่วมกับนักเรียน (เด็กเล็ก)
นักเรียนเด็กเล็กถึงชั้นประถมศึกษาร่วมกันเตรียมแปลงผักในพื้นที่บริเวณโรงเรียนทั้งแบบล้อยางและแปลงอิฐบล็อกหน้าอาคาร
มีแปลงปลูกผักที่เป็นล้อยาง จำนวน 159 ลูก และแปลงบริเวณหน้าอาคารเรียน