สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการหลากหลาย สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ80 เกิดประสบการณ์ทำการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
80.00 80.00
  • นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุกและเพาะเห็ดนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำกิจกรรมที่ได้มาเรียนรู้แบบบูรณาการหลากหลาย สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  • นักเรียนได้เมนูอาหารกลางวันที่ได้จากเห็ดและปลากดุก และได้รับประทานโปรตีนที่เหมาะสมกับวัย
  • นักเรียนได้เรียนรู้สิ่งใหม่ และนำความรู้มาบูรณาการในวิชาเรียนได้และสามารถนำความรู้ที่ได้ไป ขยายผลต่อที่บ้าน
  • นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
  • ผลผลิตมีความปลอดภัย
  • นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

นักเรียนมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำการเพาะเห็ด และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจหลักการปรัชญาเศรษบกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
80.00 455.00
  • นักเรียนสามารถเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าจำนวน 455 ก่อน และเรียนรู้ปัญหาและอุปสรรค์ ต่างๆ สามารถนำกิจกรรมที่ทำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  • นักเรียนได้เมนูอาหารกลางวันที่ได้จากเห็ด และได้รับประทานโปรตีนที่เหมาะสมกับวัย
  • นักเรียนมีความรู้ด้านการเพาะเห็ดฟาง และสามารถนำความรู้ไปเพาะเห็ดฟางที่บ้านได้
  • นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
  • ผลผลิตมีความปลอดภัย
  • นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

นักเรียนมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม และนำผลผลิตที่ได้มาทำอาหารกลางวัน และได้รับโปรตีนที่เหมาะสมตามวัย

3 เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้และสามารถสร้างอาชีพและรายได้เสริมให้กับครอบครัว
ตัวชี้วัด : นักเรียน คณะครู บุคคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักการปรัชญาเศรษบกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ที่น่าพึงพอใจ
80.00 80.00

คณะครู บุคคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักการปรัชญาเศรษบกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ที่น่าพึงพอใจ

  • นักเรียน มีความรู้ในการเพาะเห็ดนางฟ้าและเลี้ยงปลาดุก และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้
  • ผลผลิตมีความปลอดภัย
  • นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง