แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสวยหนะ หัดขะเจ (0862984973)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นักเรียนส่วนหนึ่งภาวะทางโภชนาการไม่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข อีกทั้งโรงเรียนไม่มีวัตถุดิบที่จะมาประกอบอาหารให้เด็กนักเรียนรับประทานเป็นอาหารกลางวัน จึงต้องซื้อวัตถุดิบตามท้องตลาดมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน จากปัญหาดังกล่าวส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัยของเด็ก โดยแยกได้ดังนี้
เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 51 คน
เด็กเตี้ย 40 คน
เด็กผอม 35 คน
รวมเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 82 คนจากนักเรียนทั้งหมด 377 คน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
- 2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
- 3. เพื่อให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตรสามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การปลูกผักสวนครัว
- การทำปุ๋ยหมัก
- การเพาะเห็ด
- การเลี้ยงปลาดุก
- การประชุมครู
- ประชุมผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ครู และบุคลากร ,ผู้ปกครอง,นักเรียน
70
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
- นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
- นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตร สามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การประชุมครู
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
1.ชี้แจงความเป็นมาโครงการเกษตรในโรงเรียน
2.ร่วมกันวางแผนการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
3.จัดตั้งคณะทำงานโครงการเกษตรในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูและบุคลากรร่วมกันวางแผนการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
24
0
2. ประชุมผู้ปกครอง
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.ชี้แจงรายละเอียดโครงการเกษตรในโรงเรียน
2.ร่วมหาแนวทางการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
3.กำหนดระยะเวลาการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
4.ประเมินผลการดำเนินงานการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
5.สรุปการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ผู้ปกครองเสนอความต้องการเข้าร่วมการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
2.ครูและบุคลากรนำความต้องการของผู้ปกครองมาวางแผนการทำงาน
200
0
3. การทำปุ๋ยหมัก
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูรับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจเพื่อทำกิจกรรม
2.ครูนำนักเรียนทำน้ำหมัก ปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร และปุ๋ยหมักจากหัวปลา
3.นักเรียนนำน้ำหมักที่ได้ใส่ในบ่อปลา และผสมน้ำรดผักและต้นไม้ภายในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
2.นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติการทำปุ๋หมัก
3.โรงเรียนมีปุ๋ยหมักใช้สำหรับรดผักและต้นไม้ภายในโรงเรียน
20
0
4. การเลี้ยงปลาดุก
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูรับสมัครผู้ปกครองและนักเรียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเลื้ยงปลาดุก
2.ปรับพื้นที่สำหรับขุดบ่อปลา
3.ปูพื้นบ่อปลาด้วยพลาสติก ใส่น้ำและปุ๋ยคอก ทิ้งไว้ 1 อาทิตย์
4.ลงลูกปลาดุก
5.จัดประชุมเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการเลี้ยงปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมการเลื้ยงปลาดุก และฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ
- ผลผลิต
ได้ปลาดุก 500 ตัว 1 บ่อ ยังไม่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตเนื่องจากปลาดุกเจริญเติบโตไม่เต็มที่
20
0
5. การปลูกผักสวนครัว
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนการปลูกผักภายในโรงเรียน (แบ่งการปลูกผักเป็น พ.ค.62 - ส.ค.62)
2.เตรียมพื้นที่เพื่อปลูกผัก
3.แบ่งการปลูกผักตามระดับชั้น ป.1 - ป.6
4.จำหน่ายผักเข้าสหกรณ์โรงเรียน โดยวางแผนการใช้ผักกับเมนูอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่ได้
ปลูกผักบุ้ง 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานเดือนละ 3 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 12 กิโลกรัม
- แตงกวา 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 5 กิโลกรัม
- ผักกาดขาว 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานเดือนละ 3 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 12 กิโลกรัม
- ถั่วฝักยาว 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานเดือนละ 1 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 4 กิโลกรัม
ฟักขียว 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 40 กิโลกรัม
ผลลัพธ์ที่ได้
1.โรงเรียนมีผักปลอดภัยให้นักเรียนรับประทาน
2.นักเรียนมีวินัยและมีความรับผิดชอบ
20
0
6. การเพาะเห็ด
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ครูรับสมัครนักเรียนเพื่อรับผิดชอบกิจกรรมการเพาะเห็ด จำนวน 250 ก้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการเพาะเห็ด
- ผลผลิตได้เห็ดสำหรับโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการได้ 30 กิโลกรัม
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
375.00
2
2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
56.00
56.00
3
3. เพื่อให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตรสามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 สามารถนำความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
375.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู และบุคลากร ,ผู้ปกครอง,นักเรียน
70
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสวยหนะ หัดขะเจ (0862984973) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) ”
จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางสาวสวยหนะ หัดขะเจ (0862984973)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นักเรียนส่วนหนึ่งภาวะทางโภชนาการไม่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข อีกทั้งโรงเรียนไม่มีวัตถุดิบที่จะมาประกอบอาหารให้เด็กนักเรียนรับประทานเป็นอาหารกลางวัน จึงต้องซื้อวัตถุดิบตามท้องตลาดมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน จากปัญหาดังกล่าวส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัยของเด็ก โดยแยกได้ดังนี้
เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 51 คน
เด็กเตี้ย 40 คน
เด็กผอม 35 คน
รวมเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ได้มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 82 คนจากนักเรียนทั้งหมด 377 คน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
- 2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
- 3. เพื่อให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตรสามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การปลูกผักสวนครัว
- การทำปุ๋ยหมัก
- การเพาะเห็ด
- การเลี้ยงปลาดุก
- การประชุมครู
- ประชุมผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
ครู และบุคลากร ,ผู้ปกครอง,นักเรียน | 70 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่
- นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
- นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตร สามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การประชุมครู |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูและบุคลากรร่วมกันวางแผนการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
|
24 | 0 |
2. ประชุมผู้ปกครอง |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.ชี้แจงรายละเอียดโครงการเกษตรในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ผู้ปกครองเสนอความต้องการเข้าร่วมการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
|
200 | 0 |
3. การทำปุ๋ยหมัก |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูรับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจเพื่อทำกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
|
20 | 0 |
4. การเลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูรับสมัครผู้ปกครองและนักเรียนเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมการเลื้ยงปลาดุก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมการเลื้ยงปลาดุก และฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ
|
20 | 0 |
5. การปลูกผักสวนครัว |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนการปลูกผักภายในโรงเรียน (แบ่งการปลูกผักเป็น พ.ค.62 - ส.ค.62) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.โรงเรียนมีผักปลอดภัยให้นักเรียนรับประทาน
|
20 | 0 |
6. การเพาะเห็ด |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำครูรับสมัครนักเรียนเพื่อรับผิดชอบกิจกรรมการเพาะเห็ด จำนวน 250 ก้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการเพาะเห็ด
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่ ตัวชี้วัด : นักเรียนมีประทานอาหารดี สด สะอาด ปลอดภัย ไม่มีสารตกค้างและมีประโยชน์อย่างมีคุณภาพครบ 5 หมู่ |
375.00 | |||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้นตามหลักโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข |
56.00 | 56.00 | ||
3 | 3. เพื่อให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการทำการเกษตรสามารถนำกลับไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้ ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 สามารถนำความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปฏิบัติในชีวิตประจำวัน และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนได้ |
375.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ครู และบุคลากร ,ผู้ปกครอง,นักเรียน | 70 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรเพื่ออาหารปลอดภัยในโรงเรียนบ้านลำลอง (โรงเรียนบ้านลำลอง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสวยหนะ หัดขะเจ (0862984973) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......