สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์จังหวัดภูเก็ตและกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่มะรุ่ย 27 ก.พ. 2567 27 ก.พ. 2567

 

ประชุมคณะทำงานและ อบต.มะรุ่ย

 

ได้แนวทางการประชุมคณะทำงานตำบลในการขับเคลื่อนงานระยะที่ 2

ไม่มี

ประชุมการทำแผนขับเคลื่อนบูรณาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม "มะรุ่ยแห่งความสุข" 29 ก.พ. 2567 29 ก.พ. 2567

 

  • ประชุมหารือแนวทางการขับเคลื่อนแผนงาน “การจัดการภัยพิบัติและการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติควบคู่กับการท่องเที่ยวอย่างปลอดภัย

 

  • ได้แต่งตั้งคณะทำงาน และแผนปฏิบัติงาน

ไม่มี

ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนและการประเมินงานมะรุ่ยแห่งความสุข 8 มี.ค. 2567 8 มี.ค. 2567

 

สำรวจข้อมูล ม.2

 

ผังทรัพยากรในหมู่ 2 เป็นแผนที่

ไม่มี

ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 10 มี.ค. 2567 10 มี.ค. 2567

 

สำรวจข้อมูลทรัพยากรดอนหลอย

 

ได้ข้อมูลเส้นทางการท่องเที่ยว

ไม่มี

ประชุมวางแผนการดำเนินงานกลไกขับเคลื่อนความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตำบลมะรุ่ย 12 มี.ค. 2567 12 มี.ค. 2567

 

สำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำผังทรัพยากร

 

ได้ข้อมูลการทำผังทรัพยากร 7 หมู่บ้าน และเห็นปัญหานำ้แล้งในหมู่ 3

ไม่มี

ประชุมสำรวจข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการประชุมทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรมะรุ่ยแห่งความสุข 19 มี.ค. 2567 19 มี.ค. 2567

 

ลงพื้นที่จัดทำแผนทำมือและผังทรัพยากรชุมชน

 

ได้ข้อมูลสำหรับทำแผนที่ 7 หมู่บ้าน

ไม่มี

ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย 28 มี.ค. 2567 28 มี.ค. 2567

 

ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมตำบลมะรุ่ย

 

ได้แผนที่ทำมือและผังทรัพยากรชุมชน 7 หมู่บ้าน

ไม่มี

ประชุมการจัดทำข้อมูลภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย (รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว) 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

ประชุมเตรียมข้อมูลการสำรวจภัยพิบัติ

 

ได้แผนการลงสำรวจและหน่วยงานที่จะไปเก็บข้อมูล

ไม่มี

ประชุมสรุปการเก็บข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย 3 เม.ย. 2567 3 เม.ย. 2567

 

ประชุมติดตามข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน

 

ได้ข้อมูลสุขภาพ และภัยพิบัติ

ไม่มี

ประชุมดูข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ยและวางแผนเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน 22 เม.ย. 2567 22 เม.ย. 2567

 

ดูข้อมูลที่่ทางคณะทำงานมะรุ่ยแห่งความสุขเสนอข้อมูลในพื้นที่ และมีการวางแผนเตรียมเวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

 

ได้ทราบถึงข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ตำบลมะรุ่ย

ไม่มี

ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรของพื้นที่ตำบลมะรุ่ย 24 เม.ย. 2567 24 เม.ย. 2567

 

ประชุมทบทวนข้อมูลที่จะสำรวจ

 

แบ่งงานให้แต่ละคนหาข้อมูลพื้นฐานและ Mapping ผู้เกี่ยวข้อง

ไม่มี

ประชุมเตรียมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย 30 เม.ย. 2567 30 เม.ย. 2567

 

ประชุมคณะทำงานออกแบบเวที

 

  • จะใช้กระบวนการ word cafe ในการจัดเวที

ไม่มี

ประชุมเวทีทบทวนและจัดทำข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย จังหวัดพังงา 1 พ.ค. 2567 1 พ.ค. 2567

 

ประชุมทีมทำงาน ประเด็นพูดคุย
- ที่มาและความสำคัญ "มะรุ่ยแห่งความสุข" และชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดเวที - ชี้แจ้งการแบ่งกลุ่ม และกระบวนการทำข้อมูล - กระบวนการ Word Cafe แบ่งกลุ่มจัดทำข้อมูลระดับตำบล   - การใช้ประโยชน์จากน้ำ และที่ดิน   - การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน   - การจัดการเศรษฐกิจชุมชน
  - ศิลปวัฒนธรรม และสุขภาพ - การจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่ตำบลมะรุ่ย

 

  • การใช้ประโยชน์น้ำและที่ดิน
  • ศิลปวัฒนธรรม / สุขภาพ / สังคม
  • การจัดการเศรษฐกิจชุมชน
  • การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ไม่มี

ประชุมสรุปข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจทรัพยากรตำบลมะรุ่ย 9 พ.ค. 2567 9 พ.ค. 2567

 

การเชื่อมโยงข้อมูลจากโครงการแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566-2570) เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) กับข้อมูลจากการลงพื้นที่ และการรับฟังข้อมูลเพิ่มเติมจากเวที ประเด็นที่ 1 การใช้ประโยชน์น้ำและที่ดิน ประเด็นที่ 2 ศิลปวัฒนธรรม/สุขภาพ/สังคม ประเด็นที่ 3 การจัดการเศรษฐกิจชุมชน ประเด็นที่ 4 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

 

ได้ข้อมูลและแผนที่จำนำเสนอต่อ อบต.มะรุ่ย

ไม่มี

ประชุมปรึกษษหารือการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย 15 พ.ค. 2567 15 พ.ค. 2567

 

ประชุมร่วมกับ อบต.หารือการจัดเวทีประชาคม

 

ได้แนวทางการจัดกระบวนการเวที โดยการเชิญแกนนำหมู่บ้านละ 10 คนมาร่วมให้ข้อมูล

ไม่มี

ประชุมจัดทำแผนการจัดการทรัพยากรร่วมกับ อบต.มะรุ่ย 21 พ.ค. 2567 21 พ.ค. 2567

 

ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรมะรุ่ย

 

  1. บริบทพื้นที่
  2. จำนวนโครงสร้างและประชากร
  3. ทุนทางสังคม

ไม่มี

ประชุมจัดทำข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย 30 พ.ค. 2567 30 พ.ค. 2567

 

สรุปข้อมูลที่ได้จากเวทีประชาคม

 

สรุปข้อมูลจากแผนที่ 7 หมู่บ้าน

ไม่มี

ประชุมเตรียมเวทีประชุมแผนพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ อบต.มะรุ่ย 3 มิ.ย. 2567 3 มิ.ย. 2567

 

ประชุมคณะทำงานสรุปข้อมูลและเตรียมนำเสนอ

 

ได้นำเสนอข้อมูลแผนที่สำรวจ 7 หมู่บ้าน

ไม่มี

ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถื่น อบต.มะรุ่ย 4 มิ.ย. 2567 4 มิ.ย. 2567

 

ทีมวิชาการได้ร่วมหารือการพัฒนาอย่างยั่งยินมะรุ่ยแห่งความสุข ในที่ประชุมแผนการดำเนินงานของ อบต.มะรุ่ย ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมี นายก อบต.มะรุ่ย เป็นประธาน

 

  • ทีมงานวิชาการได้หยิบยกข้อเสนอ 7 หมู่บ้านที่เข้าร่วมทบทวนข้อมูลในเวทีมะรุ่ยแห่งความสุขเป็นกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อน ดังนี้
  1. การสำรวจและการจัดทำแผนการใช้น้ำดื่มในพื้นที่
  2. สร้างเสริมุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง NCD
  3. ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว
  4. บูรณะอนุสรณ์สถานหลวงพ่อแซ่ม
  5. ส่งเสริมอาชีพและการสร้างรายได้
  6. แผนการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว

ไม่มี

ประชุมจัดทำแผนข้อมูลทรัพยากรเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรุ่ย 4 มิ.ย. 2567 4 มิ.ย. 2567

 

ทีมวิชาการได้ร่วมหารือการพัฒนาอย่างยั่งยินมะรุ่ยแห่งความสุข ในที่ประชุมแผนการดำเนินงานของ อบต.มะรุ่ย ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมี นายก อบต.มะรุ่ย เป็นประธาน

 

  • ทีมงานวิชาการได้หยิบยกข้อเสนอ 7 หมู่บ้านที่เข้าร่วมทบทวนข้อมูลในเวทีมะรุ่ยแห่งความสุขเป็นกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อน ดังนี้
  1. การสำรวจและการจัดทำแผนการใช้น้ำดื่มในพื้นที่
  2. สร้างเสริมุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง NCD
  3. ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยว
  4. บูรณะอนุสรณ์สถานหลวงพ่อแซ่ม
  5. ส่งเสริมอาชีพและการสร้างรายได้
  6. แผนการสำรวจแหล่งท่องเที่ยว

ไม่มี

ประชุมติดตามงานมะรุ่ยแห่งความสุข 25 ก.ค. 2567 25 ก.ค. 2567

 

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน

 

ข้อมูลที่ต้องเพิ่มเติม มี 1. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติในพื้นที่มะรุ่ย 2.แผนที่ทำมื่อ

ไม่มี

ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาปลาตายในพื้นที่คลองมะรุ่ย 13 ส.ค. 2567 13 ส.ค. 2567

 

  1. เปิดเวที รับฟังปัญหา ข้อมูลการตายของปลาในกระชัง

- บังกวี กลุ่มประมงพื้นบ้าน บ้านโคกไคร นำเสนอข้อมูล เกิดการตายของปลาเก๋าดอกแดง เริ่มประมาณวันที่ 5 สิงหาคม และทยอยตายมาเรื่อยๆ จนจำนวนปลารอดตายเหลือน้อยกว่า 30% - สมาชิก กลุ่มบ้านท่าสนุก นำเสนอข้อมูล สรุปได้ว่าเกิดปลาตายเริ่มตั้งแต่ช่วงกลางเดือนกรกฏาคม จนถึงปัจจุบัน กระชังในพื้นที่จำนวน 8 ราย ไม่มีปลารอดชีวิต และหยุดการเลี้ยงปลาในกระชัง จนถึงปัจจุบัน - สมาชิก กลุ่มบ้านท่าแกรง นำเสนอข้อมูล สรุปได้ว่าในพื้นที่ ก็มีปลาตาย ทั้งปลากะพง และปลาเก๋า เริ่มทยอยตาย ประมาณ 30% ของกระชังที่เลี้ยงปลา - คุณโกสิน นำเสนอว่า ในพื้นที่มีการลอบขุดเหยื่อแดง และสังเกตสีของน้ำมีความขุ่นเหมือนมี 2 สี มีความเมือกของน้ำในลำคลอง

  1. นายสมโภชน์ ซักถามคำถามเพิ่มเติม และให้ชาวบ้านในพื้นที่ทำข้อมูลทางสถิติ ประเด็นคำถาม  2.1 ตำแหน่งที่เลี้ยงปลา 2.2 ขนาดของกระชัง ชนิดปลา อายุ และปริมาณของปลาที่เลี้ยง 2.3 อาหารที่เลี้ยงปลา 2.4 จำนวนการตาย สังเกตพฤติกรรมของปลา และลักษณะของปลาที่ตาย
  2. ดร. อภิชาติ ซักถามคำถามเพิ่มเติม  ประเด็นคำถาม 3.1 สภาพแวดล้อมในพื้นที่ มีการเปลี่ยนแปลงกะทันหันหรือไหม เกิดฝนตกไหม หรือ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดไหม 3.2 กิจกรรมของชาวบ้านในพื้นที่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ กิจกรรมการจัดการทางการเกษตร และการกำจัดของเสีย 3.3 สอบถามเพิ่มเติมไปประเด็น สปาโคลน คิดว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับพื้นที่ไหม มีชาวบ้านตั้งประเด็น กำมะถัน อาจเพิ่มขึ้นจากแนวรอยเลื่อน
  3. ดร.ศิริภัธร ซักถามคำถามเพิ่มเติม ประเด็นคำถาม 4.1 ได้มีการแจ้งหน่วยงานไหนแล้วบ้าง และหน่วยงานมีการดำเนินการอะไรบ้าง 4.2 ต้องการความช่วยเหลือ หรือ อยากให้ทาง สนส ช่วยเป็นตัวกลางในการประสานเรื่องไหนเพิ่มเติมไหม
  4. นายสมโภชน์ ให้คำตอบเบื้องต้น สาเหตุของการเกิดปลาตาย 5.1 เกิดฝนตก ทำให้ปริมาณน้ำจืดไหลลงสู่คลอง พื้นที่ต้นน้ำ ท่าสนุก จะเกิดการตายก่อน และไหลไปยัง กลางน้ำ และปลายน้ำ (ปลาเก๋าเป็นปลาน้ำเค็มจะเป็นปลาที่ทนน้ำจืดได้น้อยกว่าปลากะพงซึ่งเป็นปลา 2 น้ำ ทำให้เกิดการตายสูงกว่า) 5.2 ตั้งข้อสังเกต ความหนาแน่นของจำนวนกระชัง และปริมาณปลาที่เลี้ยงในแต่ละกระชัง 5.3 ตั้งข้อสังเกต เรื่องปลิงใส โรคของปลา การรุกล้ำของแมงกะพรุน 5.4 ตั้งข้อสังเกตการตื้นเขินของตะกอน จากของเสียที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงสัตว์น้ำในกระชัง ทำให้เกิดพยาธิ

 

  • จากการรับฟังปัญหา และให้ชาวบ้านในพื้นที่เก็บข้อมูลเชิงสถิติเพิ่มเติมสรุปได้ว่า
  1. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการตายของปลาในกระชัง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปลาเก๋าดอกแดง ซึ่งเป็นปลาน้ำเค็มในบริเวณนั้นจะมีปลากระพงขาวซึ่งเป็นปลา 2 น้ำปลากะพงขาวไม่ตาย หรือ ตายน้อยกว่า เพราะปลากะพงขาวจะทนน้ำจืดได้มากกว่า น้ำจืดไหลลง ตอนบน กระชังตอนบนจะตายก่อน น้ำเค็มตอนล่างยังมีจึงทำให้ปลากระชังในตอนล่างตายช้ากว่า
  2. ปลิงใสเกิดจากตะกอน และการหมักของตะกอนใต้กระชัง บวกกับการเลี้ยงปลาที่หนาแน่น เชื้อโรค และของเสีย เมื่อปลาอ่อนแอ พยาธิจะเกาะได้ง่าย
  3. เมือกที่ตัวปลา เกิดจากเวลาปลาอ่อนแอ ปลาจะขับเมือกออกมาเพื่อรักษาตัวเอง ส่วนสายเมือก ส่วนใหญ่เกิดจากแมงกะพรุน
  4. ล้อยาง ขัดขวางการไหลของกระแสน้ำ เกิดการสะสมตัวของตะกอน
  5. ต้องมีการตรวจสอบเรื่องดิน เรื่องน้ำ
  6. ปลาตายเกิน 50% แล้ว วิธีเดียวที่ช่วยได้ตอนนี้ คือเอาปลาขึ้นจากกระชัง แต่ไม่คุ้มกับต้นทุน ตอนนี้ปลาในคลองติดเชื้อแล้วเกือบทั้งหมด ปลิงใสจะเพิ่มจำนวนมากขึ้น เนื่องจากจะทำให้ปลาตาย แล้วปลิงจะไปดูดตัวอื่นต่อ กระจายพันธุ์ไปเรื่อยๆ

ไม่มี

ประชุมทบทวนข้อมูลทรัพยากรตำบลมะรุ่ย เพื่อวางแผนการจัดทำนโยบายระดับตำบล 6 ก.ย. 2567 6 ก.ย. 2567

 

  • หารือการเตรียมข้อมูลนำเสนอต่อ ทช.

 

  • มีข้อมูลดังนี้
  1. แผนที่ท่องเที่ยวชุมชนและภัยพิบัติมีรองรับในแผนทาง อบต.ใส่ชื่อโครงการไว้เพื่อรองรับเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ไม่มี

ประชุมทบทวนแผนการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ตำบลมะรุ่ย 16 ก.ย. 2567 16 ก.ย. 2567

 

  • จัดทำข้อมูลสำรวจสถานการณ์และความเสี่ยงภัยพิบัติในตำบลมะรุ่ย ด้วยการสำรวจ และจัดเวทีชุมชน

 

  • ผลการสำรวจสถานการณ์ภัยพิบัติรายหมู่บ้านของตำบลมะรุ่ย
  • ผลการสำรวจพื้นที่เสี่ยงต่อโอกาสการเกิดภัย
  • ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในพื้นที่

ไม่มี