เพื่อวางแผนนำข้อมูลสถานการณ์ผ่านแผนที่แสดงศักยภาพเกาะลันตา
ประสานการทำงาน ขอความร่วมมือการจัดทำแผนที่พัฒนาเกาะลันตา
แผนที่พัฒนาเกาะลันตา ตามภูมิศาสตร์ จุดเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง และโอกาสในการพัฒนา
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน นักวิจัย สนส.ม.อ. ร่วมกับภาคีทำงาน คุณเอกนัฐ บุญยัง จากเครือข่ายสภาชุมชน
-
1.เพื่อติดตามการจัดตั้งมูลนิธิรักษ์ลันตาเป็นกลไกลสนับสนุนการทำงานพัฒนาเกาะลันตา 2.รับฟังข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคในการจัดตั้งกลไกบูรณาการทำงานระดับอำเภอ
ประสานการทำงาน จัดประชุมระดมความคิดเห็นในกลุ่มแกนนำ
ข้อเสนอแนะ ให้จัดการประชุม ในระดับดำบลทั้ง 5 ตำบล โดย นักวิชาการรวบรวมและนำเสนอสถานการณ์ปัญหาความต้องการระดับดำบล และนำเสนอในระดับอำเภอต่อไป
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน นักวิจัย สนส.
เครือข่ายแกนนำท้องถิ่น ท้องที่
ภาคประชาสังคม
เอกชน
-
-
S__34488389_0.jpg
-
S__34488388_0.jpg
-
S__34488387_0.jpg
-
S__34488386_0.jpg
-
S__34488385_0.jpg
-
S__34488384_0.jpg
-
S__34488383_0.jpg
-
S__34488381_0.jpg
เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงานกลไกบูรณาพัฒนาเกาะลันตา
ประสานการทำงานและจัดประชุมกลุ่มย่อย
เครือข่ายการทำงานเข้าใจการขับเคลื่อนงานกลไกบูรณาการทำงาน เพื่อความร่วมมือ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน ภาคีเครือข่ายในพื้นที่อำเภอเกาะลันตา กลุ่มชาติพันธุ์
-
*
*
*
()
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.) คณะทำงาน
*
-
S__34488379_0.jpg
-
S__34488378_0.jpg
-
S__34488377_0.jpg
-
S__34488376_0.jpg
-
S__34488375_0.jpg
-
S__34488374_0.jpg
-
S__34488373_0.jpg
-
S__34488372_0.jpg
-
S__34488371_0.jpg
-
S__34488369_0.jpg
*
การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น/หาแนวทางขับเคลื่อนกลไกการทำงานโดยบูรณาการความร่วมมือพัฒนาอำเภอเกาะลันตายั่งยืนในทุกมิติ - การกล่าวชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม - การกล่าวถึงบทบาท สนส.ม.อ. ในการช่วยขับเคลื่อนงานกลไกการทำงานโดยบูรณาการความร่วมมือเป้าหมายการพัฒนาอำเภอเกาะลันตายั่งยืนในทุกมิติ - แนวทางการทำงานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ การเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงาน (Network Mapping) เพื่อพัฒนาเกาะลันตาสู่ความยั่งยืนเศรษฐกิจสังคม สุขภาพ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ผ่านแผนการพัฒนาของหน่วยงานภาคีต่าง ๆ
*
()
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.) คณะทำงาน
*
เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีสร้างกลไกบูรณาการการทำงานในวันที่ 20 สิงหาคม 2567
*ประสานการทำงาน จัดประชุมกลุ่มย่อย
*แผนและแนวทางในการจัดประชุมเพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานกลไกบูรณาการการทำงานในระดับอำเภอ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน นักวิจัย สนส.ม.อ.ร่วมกับแกนนำขับเคลื่อนงานจากภาคีต่าง ๆ
*
*
*
*
()
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.) คณะทำงาน
*
*1.ประสานภาคีหลักในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับการทำงานกลไกบูรณาการความร่วมมือพัฒนาเกาะลันตายั่งยืน 2.จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนงานอย่างมีส่วนร่วม
*เกิดแผนการทำงาน และภาคีร่วมทำงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน นักวิจัย สนส.ม.อ. เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.) และเครือข่ายภาคี จากมูลนิธิอันดามัน
*1.เพื่อนำงานวิชาการเข้ามาหนุนเสริมกลุ่มเปราะบางลดความเหลื่อมล้ำ 2.เพื่อพัฒนากลุ่มชาวเลใน ต.ศาลาด่านมาร่วมเป็นภาคีการขับเคลื่อนงานกลไกบูรณาการทำงานระดับอำเภอ
*1.ประสานงานแกนนำชาวเลโต๊ะบาหลิว ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม
2.ออกแบบการจัดประชุมโดยการมีส่วนร่วม
3.มีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพชาวเล โดยนำขยะทะเลมาสร้างคุณค่า เพิ่มมูลค่า
4.ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ต่อยอดงาน ศาลาด่านโมเดล
*1.ชาวเลมาเป็นส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาเกาะลันตาโดยการมีส่วนร่วม 2.สร้างแรงบันดาลใจการส่งเสริมสร้างรายได้ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 3.ชาวเลเห็นความสำคัญของการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ เชื่อมโยงต่อยอดจากการหาปลาเลี้ยงชีพสู่การยกระดับการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน นักวิจัย สนส.ม.อ. เครือข่าววิชาการ และแกนนำชาวเลอุรักลาไวยจ บ้านโต๊ะบาหลิว ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลันตา จ.กระบี่
-
S__34488356_0.jpg
-
S__34488355_0.jpg
-
S__34488354_0.jpg
-
S__34488353_0.jpg
-
S__34488352_0.jpg
-
S__34488351_0.jpg
-
S__34488350_0.jpg
-
S__34488349_0.jpg
-
S__34488348_0.jpg
-
S__34488346_0.jpg
*1.เพื่อมีส่วนร่วมกับภาคี/หน่วยงาน รัฐ เอกชน ท้องถิ่น ประชาสังคม วิชาการในพื้นที่และต่างพื้นที่ 2.เพื่อนำเสนอการขับเคลื่อนงาน ศาลาด่านโมเดลในรูปแบบการจัดนิทรรศการภายในงาน 3.เป็นหนึ่งในการความร่วมมือเพื่อลันตายั่งยืน ภายใต้ปฏิญญาอ่าวลันตา
*1. การประชุมออกแบบการมีส่วนร่วมของการจัดกิจกรรมการพัฒนาเกาะลันตาที่เรียกว่า "การสัมมนาชาวเกาะการท่องเที่ยวเกาะยั่งยืนครั้งที่ 2" Thailand Sustainable Island Tourism Symposium 2024 2.เตรียมจัดนิทรรศ "ศาลาด่านโมเดล" โดยเทศบาลตำบลศาลาด่านเป็นผู้จัดนิทรรศ นำเสนอการดำเนินงานที่ได้รับการสนับทางวิชาการจาก สนส. ม.อ.
*1.ผลการดำเนินงานศาลาด่านโมเดล เป็นส่วนหนึ่งของปฏิญญาอ่าวลันตา ได้ถูกนำเสนอ/เผยแพร่ให้ทราบในวงกว้างมากขึ้นขึ้น 2.เพิ่มภาคีเครือข่ายการทำงานในภาคประชาสังคมเพิ่มขึ้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน/นักวิจัย สนส.ม.อ. ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่จากสำนักงานเทศบาลตำบลศาลาด่าน
*1.เพื่อร่วมเสนอความคิดเห็นการออกเทศบัญญัติอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในตำบลศาลาด่าน ซึ่งเป็นงานที่ถูกผลักดันจากข้อเสนอศาลาด่านโมเดล 2.ร่วมวางแผนการดำเนินและแนวทางการสนับสนุนเพื่อให้เกิดเทศบัญญัติฯ
*1.ประสานงานกับผู้บริหารเทศบาลตำบลศาลาด่าน
2. จัดประชุมย่อย นำเสนอแนวทางการดำเนินงานและเงื่อนไขการสนับสนุนที่ สนส.ม.อ.จะสนับสนุนได้
*ผลจากการดำเนินงานในระยะแรก "ศาลาด่านโมเดล" หน่วยงานท้องถิ่นนำมาเป็นเครื่องมือ/ข้อมูล/แนวทางในการออกแบบงานพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงในฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อไป โดยถูกผลักดันในเกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.) คณะทำงาน และผู้บริหารจากเทศบาลตำบลศาลาด่าน อ.เกาะลันตา จ.กระบี่
-
S__34488340_0.jpg
-
S__34488339_0.jpg
-
S__34488338_0.jpg
-
S__34488337_0.jpg
-
S__34488336_0.jpg
-
S__34488335_0.jpg
-
S__34488334_0.jpg
-
S__34488333_0.jpg
-
S__34488331_0.jpg
*1.เพื่อระดมความคิดเห็นแกนนำระดับอำเภอเกาะลันตาในการยกระดับการพัฒนาประเด็นความมั่นคง 2.วางแผนการขับเคลื่อนงานพัฒนาอำเภอเกาะลันตาในระยะต่อไป มุ่งเน้นการสร้างกลไกความร่วมมือ
*1.ประสานเครือข่าย/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.นำเสนอเป้าหมายการดำเนินของ สนส.ม.อ.โดยการสนับสนุนของ สสส. 3. จัดการประชุมกลุ่มเป้าหมาย รวบรวมความคิดเห็นจากการประชุม
*จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้
ผลลัพธ์ ได้่ข้อเสนอ ดังนี้
1. การเกิดกลไกบูรณาการทำงานร่วม ควรให้มีกลไกหลัก หรือกลไกกลางที่เกิดขึ้น โดยคนลันตาที่มาจากทุกภาคส่วน
2. เห็นชอบให้มีกลไกในพื้นที่โดยยกระดับ กลุ่มรักษ์ลันตา เป็น มูลนิธิรักษ์ลันตา
3. สนส.ม.อ สนับสนุนงานวิชาการ เชื่อมประสานจัดเวทีให้เกิดกลไกบูรณาการการทำงาน เชื่อมประเด็น เชื่อมเครือข่าย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.นักวิจัย สนส.ม.อ. 2. ผู้นำท้องที่ ท้องถิ่น 3.ผู้นำภาคเอกชน 4. วิสาหกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชน 5.ผู้แทนกลุ่มชาติพันธุ์ 6. มูลนิธิอันดามัน 7.ผู้แทนกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 8. แกนนำชุมชนต่าง ๆ
*เพื่อวางแผนและกำหนดทิศทางการทำงานยกระดับการทำงาน โดยเชื่อมโยงบูรณาการเครือข่ายทำงาน
*เป็นการประชุมระดมความคิดเห็นในคณะทำงานของ สนส.ม.อ เพื่อกำหนดแนวทาง/ทิศทางการทำงาน ให้ตรงกับเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ สอดคล้องกับการขับเคลื่อนงานภาคใต้แห่งความสุขในภาพใหญ่
*เกิดแผนงานการดำเนินงาน ดังนี้
1) เป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนขึ้น คือ การขับเคลื่อนงานในระดับอำเภอ เชื่อมคน เชื่อมโครงการ เชื่อมงาน
2) เกิดแผนการทำงานเชื่อมประเด็น จากความมั่นคงทางทรัพยากรสู่ความมั่นคงทางคุณภาพชีวิต ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางสุขภาพ
()
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.ม.อ.)
*
1.เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนงานวิชาการเพื่อกลุ่มเปราะบางให้เข้าถึงสิทธิ โดยเฉพาะในพื้นที่ดำเนินงานคือ ต.ศาลาด่าน 2.เพื่อแสดงความคิดเห็นเชิงนโยบายการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เีกี่ยวข้อง
*ทาง สนส.ม.อ.ได้รับการประสานงานจากมูลนิธิชุมชนไท เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนงานวิชาการให้กับเครือข่ายชาวเล เนื่องจากพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงานประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ มีกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ทำงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินงาน
*ข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ได้นำเสนอในเวทีการประชุม เพื่อให้ภาคีเครือข่ายพิจารณาเป็นแนวทางในการนำไปพัฒนาเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์อื่นต่อไป และได้รับข้อเสนอแนะจากวงประชุม เป็นแนวทางการพัฒนาโครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ สนส. ในโอกาสต่อไป
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักวิจัยจาก สนส. ม.อ.จำนวน 1 คน ผู้บริหารเจ้าหน้าที่จาก มูลนิธิชุมชนไท นักวิชาการจาก มหาวิทยาลัยทักษิณ และเครือข่ายองค์กรอิสระ
-
S__34422793_0.jpg
-
S__34422792_0.jpg
-
S__34422791_0.jpg
-
S__34422790_0.jpg
-
S__34422789_0.jpg
-
S__34422787_0.jpg
1.เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการนำเสนอเชิงนโยบายด้านการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเปราะบาง (ชาติพันธุ์ชาวเล) ในพื้นที่ตำบลศาลาด่าน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ 2.เพื่อมีส่วนร่วมกับอำเภอเกาะลันตา ในการทำงานวิชาการสนับสนุนการพัฒนาเกาะลันตา
*นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รองนายกรัฐมนตรี เดินทางเข้าพื้นที่ ตำบลโต๊ะบาหลิว ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลันตา เพื่อรับฟังข้อเสนอ การผลักดันข้อเสนอการจัดพื้นที่ทางวัฒนธรรมให้กับกลุ่มชาติพันธ์ุ การประชุมในครั้งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน
ทั้งนี้การขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรในพื้นที่ตำบลศาลาด่าน กลุ่มชาติพันธุ์ คือ กลุ่มเป้าหมายการพัฒนา การทำงานในพืันที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยการหนุนเสริมงานทางวิชาการ
ในการประชุมครั้งนี้ นักวิชาการ ของ สนส.ม.อ.ได้เข้ามามีส่วนร่วมเพื่อนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายร่วมกับอำเภอเกาะลันตา
*ทาง สนส.ม.อ.ได้นำข้อเสนอเชิงนโยบาย เรื่องการหนุนเสริมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ เพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ โดยข้อเสนอควรจะให้มีกระบวนการการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ โดยทางอำเภอเกาะลันตาได้นำข้อเสนอนี้ ลงในเล่มรายการเพื่อนำเสนอให้กับคณะรองนายกรัฐมนตรีในครั้งนี้
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักวิจัยหลักคือ ดร.ฐิติชญาน์ บุญโสม และผู้ช่วยวิจัย 1 คน
เจ้าหน้าที่จากอำเภอเกาะลันตา เทศบาลตำบล ศาลาด่าน และแกนนำชุมชนโต๊ะบาหลิว ต.ศาลาด่าน