สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมแนวทางการผลักดันเทศบัญญัติอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในตำบลศาลาด่าน อำเภอเกาะลันตา 28 พ.ค. 2567 28 พ.ค. 2567

 

*1.ประสานงานกับผู้บริหารเทศบาลตำบลศาลาด่าน
2. จัดประชุมย่อย นำเสนอแนวทางการดำเนินงานและเงื่อนไขการสนับสนุนที่ สนส.ม.อ.จะสนับสนุนได้

 

*ผลจากการดำเนินงานในระยะแรก "ศาลาด่านโมเดล" หน่วยงานท้องถิ่นนำมาเป็นเครื่องมือ/ข้อมูล/แนวทางในการออกแบบงานพัฒนาท้องถิ่นเพื่อสร้างความมั่นคงในฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อไป โดยถูกผลักดันในเกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย

 

ประชุมกลุ่มชาวเลเพื่อพัฒนาเป็นเครือข่ายตัวแทนกลุ่มเปราะบางในการขับเคลื่อนงานกลไกระดับอำเภอเกาะลันตา 15 มิ.ย. 2567 15 มิ.ย. 2567

 

*1.ประสานงานแกนนำชาวเลโต๊ะบาหลิว ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม 2.ออกแบบการจัดประชุมโดยการมีส่วนร่วม 3.มีกิจกรรมส่งเสริมอาชีพชาวเล โดยนำขยะทะเลมาสร้างคุณค่า เพิ่มมูลค่า
4.ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ต่อยอดงาน ศาลาด่านโมเดล

 

*1.ชาวเลมาเป็นส่วนร่วมในการขับเคลื่อนงานพัฒนาเกาะลันตาโดยการมีส่วนร่วม 2.สร้างแรงบันดาลใจการส่งเสริมสร้างรายได้ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 3.ชาวเลเห็นความสำคัญของการรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ เชื่อมโยงต่อยอดจากการหาปลาเลี้ยงชีพสู่การยกระดับการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์

 

ประชุมวางแผนการจัดทำฐานข้อมูลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการขับเคลื่อนงานในอำเภอเกาะลันตา 26 ก.ค. 2567 26 ก.ค. 2567

 

*1.ประสานภาคีหลักในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับการทำงานกลไกบูรณาการความร่วมมือพัฒนาเกาะลันตายั่งยืน 2.จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนงานอย่างมีส่วนร่วม

 

*เกิดแผนการทำงาน และภาคีร่วมทำงาน

 

ประชุมวางแผนจัดตั้งกลุ่มกลไกระดับอำเภอขับเคลื่อนงานลันตายั่งยืน ตามแนวปฏิญญาอ่าวลันตา จังหวัดกระบี่ 27 ก.ค. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมพิจารณากรอบการจัดทำข้อมูลกลไกอำเภอเกาะลันตา และการสื่อสารประเด็นทรัพยากรธรรมชาติ 13 ส.ค. 2567 13 ส.ค. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมเตรียมความพร้อมการขับเคลื่อนกลไกการทำงานโดยบูรณาการความร่วมมือพัฒนาอำเภอเกาะลันตายั่งยืนในทุกมิติ 19 ส.ค. 2567 19 ส.ค. 2567

 

*ประสานการทำงาน จัดประชุมกลุ่มย่อย

 

*แผนและแนวทางในการจัดประชุมเพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานกลไกบูรณาการการทำงานในระดับอำเภอ

*

ประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหาแนวทางขับเคลื่อนกลไกการทำงานโดยบูรณาการความร่วมมือพัฒนาอำเภอเกาะลันตายั่งยืนในทุกมิติ 20 ส.ค. 2567 20 ส.ค. 2567

 

การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น/หาแนวทางขับเคลื่อนกลไกการทำงานโดยบูรณาการความร่วมมือพัฒนาอำเภอเกาะลันตายั่งยืนในทุกมิติ - การกล่าวชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม - การกล่าวถึงบทบาท สนส.ม.อ. ในการช่วยขับเคลื่อนงานกลไกการทำงานโดยบูรณาการความร่วมมือเป้าหมายการพัฒนาอำเภอเกาะลันตายั่งยืนในทุกมิติ - แนวทางการทำงานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ การเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงาน (Network Mapping) เพื่อพัฒนาเกาะลันตาสู่ความยั่งยืนเศรษฐกิจสังคม สุขภาพ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ผ่านแผนการพัฒนาของหน่วยงานภาคีต่าง ๆ

 

*

*

ประชุมออกแบบเครื่องมือการเก็บข้อมูลภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาวะ อำเภอเกาะลันตา 29 ส.ค. 2567 29 ส.ค. 2567

 

*

 

*

*

กิจกรรมประชุมเครือข่ายการทำงานกลไกอำเภอเกาะลันตา 10 ก.ย. 2567 10 ก.ย. 2567

 

ประสานการทำงานและจัดประชุมกลุ่มย่อย

 

เครือข่ายการทำงานเข้าใจการขับเคลื่อนงานกลไกบูรณาการทำงาน เพื่อความร่วมมือ

-

ประชุมติดตามการจัดตั้งมูลนิธิรักษ์ลันตากลไกสนับสนุนการทำงานพัฒนาเกาะลันตา 29 ก.ย. 2567 29 ก.ย. 2567

 

ประสานการทำงาน จัดประชุมระดมความคิดเห็นในกลุ่มแกนนำ

 

ข้อเสนอแนะ ให้จัดการประชุม ในระดับดำบลทั้ง 5 ตำบล โดย นักวิชาการรวบรวมและนำเสนอสถานการณ์ปัญหาความต้องการระดับดำบล และนำเสนอในระดับอำเภอต่อไป

-

ประชุมดูข้อมูลแผนที่แสดงศักยภาพเกาะลันตา 5 ต.ค. 2567 5 ต.ค. 2567

 

ประสานการทำงาน ขอความร่วมมือการจัดทำแผนที่พัฒนาเกาะลันตา

 

แผนที่พัฒนาเกาะลันตา ตามภูมิศาสตร์ จุดเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง และโอกาสในการพัฒนา

-

เข้าร่วมการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 22 ม.ค. 2567 22 ม.ค. 2567

 

*นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รองนายกรัฐมนตรี เดินทางเข้าพื้นที่ ตำบลโต๊ะบาหลิว ต.ศาลาด่าน อ.เกาะลันตา เพื่อรับฟังข้อเสนอ การผลักดันข้อเสนอการจัดพื้นที่ทางวัฒนธรรมให้กับกลุ่มชาติพันธ์ุ การประชุมในครั้งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ทั้งนี้การขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรในพื้นที่ตำบลศาลาด่าน กลุ่มชาติพันธุ์ คือ กลุ่มเป้าหมายการพัฒนา การทำงานในพืันที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยการหนุนเสริมงานทางวิชาการ
ในการประชุมครั้งนี้ นักวิชาการ ของ สนส.ม.อ.ได้เข้ามามีส่วนร่วมเพื่อนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายร่วมกับอำเภอเกาะลันตา

 

*ทาง สนส.ม.อ.ได้นำข้อเสนอเชิงนโยบาย เรื่องการหนุนเสริมการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ เพื่อความมั่นคงทางมนุษย์ และความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ โดยข้อเสนอควรจะให้มีกระบวนการการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์  โดยทางอำเภอเกาะลันตาได้นำข้อเสนอนี้ ลงในเล่มรายการเพื่อนำเสนอให้กับคณะรองนายกรัฐมนตรีในครั้งนี้

 

เข้าร่วมประชุมทิศทางแผนงานการขับเคลื่อนนโยบายการเข้าถึงระบบสุขภาพและประเมินผลกระทบกับสิทธิชุมชน เครือข่ายชาวเลและคนไทยพลัดถิ่น 1 ก.พ. 2567 1 ก.พ. 2567

 

*ทาง สนส.ม.อ.ได้รับการประสานงานจากมูลนิธิชุมชนไท เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนงานวิชาการให้กับเครือข่ายชาวเล เนื่องจากพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินงานประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ มีกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ทำงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินงาน

 

*ข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานการท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ได้นำเสนอในเวทีการประชุม เพื่อให้ภาคีเครือข่ายพิจารณาเป็นแนวทางในการนำไปพัฒนาเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์อื่นต่อไป และได้รับข้อเสนอแนะจากวงประชุม เป็นแนวทางการพัฒนาโครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ สนส. ในโอกาสต่อไป

 

ประชุมทำแผนขับเคลื่อนงานกลไกอำเภอเกาะลันตาและศาลาด่านโมเดล 13 มี.ค. 2567 13 มี.ค. 2567

 

*เป็นการประชุมระดมความคิดเห็นในคณะทำงานของ สนส.ม.อ เพื่อกำหนดแนวทาง/ทิศทางการทำงาน ให้ตรงกับเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ สอดคล้องกับการขับเคลื่อนงานภาคใต้แห่งความสุขในภาพใหญ่

 

*เกิดแผนงานการดำเนินงาน ดังนี้
1) เป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจนขึ้น คือ การขับเคลื่อนงานในระดับอำเภอ เชื่อมคน เชื่อมโครงการ เชื่อมงาน
2) เกิดแผนการทำงานเชื่อมประเด็น จากความมั่นคงทางทรัพยากรสู่ความมั่นคงทางคุณภาพชีวิต ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางสุขภาพ

*

ประชุมย่อยเพื่อขับเคลื่อนงานกลไกการบูรณาการ การพัฒนาระดับอำเภอ 7 พ.ค. 2567 7 พ.ค. 2567

 

*1.ประสานเครือข่าย/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2.นำเสนอเป้าหมายการดำเนินของ สนส.ม.อ.โดยการสนับสนุนของ สสส. 3. จัดการประชุมกลุ่มเป้าหมาย รวบรวมความคิดเห็นจากการประชุม

 

*จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ผลลัพธ์ ได้่ข้อเสนอ ดังนี้
1. การเกิดกลไกบูรณาการทำงานร่วม ควรให้มีกลไกหลัก หรือกลไกกลางที่เกิดขึ้น โดยคนลันตาที่มาจากทุกภาคส่วน 2. เห็นชอบให้มีกลไกในพื้นที่โดยยกระดับ กลุ่มรักษ์ลันตา เป็น มูลนิธิรักษ์ลันตา 3. สนส.ม.อ สนับสนุนงานวิชาการ เชื่อมประสานจัดเวทีให้เกิดกลไกบูรณาการการทำงาน เชื่อมประเด็น เชื่อมเครือข่าย

 

กิจกรรมการพัฒนาเกาะลันตาร่วมกับภาคีเกาะต่าง ๆ และเทศบาลตำบลเกาะลันตา 6 มิ.ย. 2567 6 มิ.ย. 2567

 

*1. การประชุมออกแบบการมีส่วนร่วมของการจัดกิจกรรมการพัฒนาเกาะลันตาที่เรียกว่า "การสัมมนาชาวเกาะการท่องเที่ยวเกาะยั่งยืนครั้งที่ 2" Thailand Sustainable Island Tourism Symposium 2024 2.เตรียมจัดนิทรรศ "ศาลาด่านโมเดล" โดยเทศบาลตำบลศาลาด่านเป็นผู้จัดนิทรรศ นำเสนอการดำเนินงานที่ได้รับการสนับทางวิชาการจาก สนส. ม.อ.

 

*1.ผลการดำเนินงานศาลาด่านโมเดล เป็นส่วนหนึ่งของปฏิญญาอ่าวลันตา ได้ถูกนำเสนอ/เผยแพร่ให้ทราบในวงกว้างมากขึ้นขึ้น 2.เพิ่มภาคีเครือข่ายการทำงานในภาคประชาสังคมเพิ่มขึ้น