สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ.

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ. ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ.

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ. จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ.



บทคัดย่อ

โครงการ " การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ. " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 500,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมจัดทำร่างหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม
  2. ประชุมทีมวิชาการให้ข้อเสนอแนะต่อหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจนำคู่มือมาตรฐานไปปรับใช้ในการจัดบริการสุขภาพ
  3. ประชุมทีมวิชาการให้ข้อเสนอแนะต่อหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจนำคู่มือมาตรฐานไปปรับใช้ในการจัดบริการสุขภาพ Zoom ออนไลน์
  4. ประชุมจัดทำแบบประเมินตนเองและแบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ
  5. ประชุมทีมวิชาการดูเครื่องมือ guideline แนวปฏิบัติให้กับโรงพยาบาลที่นำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปทดลองใช้
  6. ประชุมทีมวิชาการดูเครื่องมือ guideline แนวปฏิบัติให้กับโรงพยาบาลที่นำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปทดลองใช้ผ่านระบบ Zoom
  7. ประชุมร่วมกับ สรพ.บูรณาการมาตรฐานระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมกับมาตรฐาน Ha
  8. ประชุมจัดทำมาตรฐานระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมบูรณาการร่วมกับมาตรฐาน HA

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมจัดทำร่างหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม

วันที่ 23 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. ระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิทบทวนคู่มือผู้เยี่ยมสำรวจและการประเมินตนเองสำหรับมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในสถานพยาบาลและระบบบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ
    ทั้งนี้ได้ร่วมพิจารณาเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลนำร่องทั่วประเทศในการนำคู่มือไปปฏิบัติใช้ เพื่อประเมินและถอดบทเรียนก่อนนำส่งมอบให้สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) ปรับใช้ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้แนวทางออกแบบกระบวนการทำงาน
  1. บูรณาการพัฒนามาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม ร่วมกับมาตรฐานการรับรองโรงพยาบาล HA  สรพ.
    ส่งมอบคู่มือมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม ให้ สรพ.
    นัดประชุมหารือออกแบบกระบวนการทำงานร่วมกับ สรพ.และคณะกรรมการตรวจเยี่ยมภาคใต้
    บูรณาเข้าเป็นมาตรฐานโรงพยาบาลในบางโรค /HA+
  2. การนำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมที่พัฒนาไปทดลองใช้ในโรงพยาบาลที่สนใจ เพื่อพัฒนาโมเดลนำร่องสำหรับโรงพยาบาลที่สนใจ
  • photo 457355011_436632952754848_8801268447816030233_n.jpg457355011_436632952754848_8801268447816030233_n.jpg
  • photo 457212137_436632942754849_750887311276907497_n.jpg457212137_436632942754849_750887311276907497_n.jpg

 

7 7

2. ประชุมทีมวิชาการให้ข้อเสนอแนะต่อหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจนำคู่มือมาตรฐานไปปรับใช้ในการจัดบริการสุขภาพ

วันที่ 26 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือการผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในสถานพยาบาลและระบบบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ข้อสรุปจากประชุม
  1. ผนวกกับมาตรฐานของ สรพ.คณะทำงานทีมระดับภาค คณะทำงาน สรพ.
  2. ขยายผลนำร่องสถานพยาบาลทั่วประเทศ สถานพยาบาลที่สนใจนำมาตรฐานไปปรับใช้นารจัดระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม 8 แห่ง แนวทางการนำมาตรฐานไปใช้ในโรงพยาบาล สร้างทีมพี่เลี้ยงและผู้เยี่ยมสำรวจ สนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง ผู้เยี่ยมสำรวจ และโรงพยาบาล ลงเยี่ยมเสริมพลัง ถอดบทเรียน สื่อสารผ่านสคริป เรื่องเล่า และ Time line ขั้นตอนการทำงาน
  3. เล่มมาตรฐานพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย ข้อมูลอ้างอิงเชิงวิชาการ และปรับเกณฑ์การให้คะแนน
  • photo S__9093150_0.jpgS__9093150_0.jpg
  • photo S__9093149_0.jpgS__9093149_0.jpg
  • photo S__9093147_0.jpgS__9093147_0.jpg

 

15 15

3. ประชุมทีมวิชาการให้ข้อเสนอแนะต่อหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจนำคู่มือมาตรฐานไปปรับใช้ในการจัดบริการสุขภาพ Zoom ออนไลน์

วันที่ 26 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมหารือการผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในสถานพยาบาลและระบบบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ข้อสรุปจากประชุม
  1. ผนวกกับมาตรฐานของ สรพ.คณะทำงานทีมระดับภาค คณะทำงาน สรพ.
  2. ขยายผลนำร่องสถานพยาบาลทั่วประเทศ สถานพยาบาลที่สนใจนำมาตรฐานไปปรับใช้นารจัดระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม 8 แห่ง แนวทางการนำมาตรฐานไปใช้ในโรงพยาบาล สร้างทีมพี่เลี้ยงและผู้เยี่ยมสำรวจ สนับสนุนงบประมาณดำเนินงาน พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง ผู้เยี่ยมสำรวจ และโรงพยาบาล ลงเยี่ยมเสริมพลัง ถอดบทเรียน สื่อสารผ่านสคริป เรื่องเล่า และ Time line ขั้นตอนการทำงาน
  3. เล่มมาตรฐานพหุวัฒนธรรม ประกอบด้วย ข้อมูลอ้างอิงเชิงวิชาการ และปรับเกณฑ์การให้คะแนน
  • photo S__9093149_0.jpgS__9093149_0.jpg
  • photo 36175_0.jpg36175_0.jpg
  • photo 36172_0.jpg36172_0.jpg

 

8 8

4. ประชุมจัดทำแบบประเมินตนเองและแบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ

วันที่ 31 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมทีมวิชาการ สังเคราะห์เอกสารมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม และจัดทำแบบประเมินตนเองในการนำไปปรับใช้ในสถานพยาบาล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แบบประเมินตนเองและแนวทางการให้คะแนน สำหรับมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในสถานพยาบาลและระบบบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ มีการประเมินตนเอง และ แนวทางการให้คะแนน 5 ด้าน คือ Beginning Basically Effectiveness Mature Advance Role Model
  • photo LINE_ALBUM_ประชุม 28 ส.ค. 67_240828_4.jpgLINE_ALBUM_ประชุม 28 ส.ค. 67_240828_4.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประชุม 28 ส.ค. 67_240828_1.jpgLINE_ALBUM_ประชุม 28 ส.ค. 67_240828_1.jpg

 

4 4

5. ประชุมทีมวิชาการดูเครื่องมือ guideline แนวปฏิบัติให้กับโรงพยาบาลที่นำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปทดลองใช้

วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • หารือเกณฑ์สถานพยาบาลที่นำร่องการจัดบริการระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรม
  • นำเสนอแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกณฑ์สถานพยาบาลที่นำร่องการจัดบริการระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรม
  1. โรงพยาบาลมีความสนใจเข้าร่วมดำเนินงานการนำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปปรับใช้ในระบบบริการสุขภาพของโรงพยาบาล หรือระบบบริการปฐมภูมิ
  2. สถานพยาบาลภาครัฐทุกสังกัดและทุกระดับ และระบบบริการปฐมภูมิ รวมทั้งโรงพยาบาลเอกชน
  3. ผู้รับบริการมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม แรงงานต่างด้าว คนชายขอบ กลุ่มเปราะบาง รวมไปถึงสถานบริการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล มีอุปสรรคต่อการรับส่งผู้ป่วย
  • photo 1725864469305.jpg1725864469305.jpg

 

5 5

6. ประชุมทีมวิชาการดูเครื่องมือ guideline แนวปฏิบัติให้กับโรงพยาบาลที่นำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปทดลองใช้ผ่านระบบ Zoom

วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • นำเสนอแบบประเมินตนเองและแนวทางการให้คะแนน สำหรับมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในสถานพยาบาลและระบบบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ
  • นำเสนอแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการการให้บริการแบบการแพทย์พหุวัฒนธรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1. แบบประเมินตนเอง เป็นการชี้นำมากเกินไป เช่น ข้อ 1 ใช้คำกว้าง เช่น มีการนำข้อมูลพหุวัฒนธรรมมาใช้ ข้อ 2 มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้านหพุวัฒนธรรมมาวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ในองค์กร และ ข้อ 3 มีการสื่อสารด้านนโยบายยุทธศาสตร์ในองค์กร 2. Output ให้ตามมาตรฐานของ สรพ. พอจับในแต่ละหมวดบางอย่างไม่ได้จำกัด เช่น สิ่งแวดล้อม ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ข้อ 1
3. สามารถแบ่งย่อยได้เพื่อให้องค์กรนำไปใช้ได้ไม่สับสน 4. แบบประเมินความพึงพอใจ ครอบคลุมมาตรฐาน 3 ด้าน ในคะแยย 5 -1 แบ่งกรุ๊ปข้อไหนในมาตรฐานด้านไหนเพื่อให้ง่ายต่อการนำไปใช้ และให้ครอบคลุมผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ให้บริการ
5. การคัดเลือกโรงพยาบาล จะมี 2 แบบ คือ 1 โรงพยาบาลที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ และ 2 เลือกเขตสุขภาพละ 1 จะดีในเรื่องของการสื่อสารทางเขตสุขภาพ

  • photo messageImage_1725864452091.jpgmessageImage_1725864452091.jpg
  • photo messageImage_1725864436643.jpgmessageImage_1725864436643.jpg

 

7 7

7. ประชุมร่วมกับ สรพ.บูรณาการมาตรฐานระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมกับมาตรฐาน Ha

วันที่ 2 ตุลาคม 2567 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • การประชุมร่วมกับ สรพ.หารือการบูรณาการมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมประยุกต์ร่วมกับมาตรฐานการรับรองของ สรพ. วันที่ 2 ตุลาคม 2567 เวลา 13.30 – 15.00 น. ออนไลน์ทางระบบ Zoom

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. การบูรณาการมาตรฐานร่วมกับ สรพ. ทบทวนมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม กับ มาตรฐาน HA สกัดบทเรียนที่ตรงกัน มีประเด็นไหนที่ตรงกัน หมวดไหนของมาตรฐานที่สามารถเอามาปรับหรือเพิ่มเติมได้ ประเด็นสำคัญต้องหยิบจับไปอยู่ในตัวมาตรฐาน HA หา Keyword ที่สำคัญ 3-5 ประเด็น ส่งให้ทาง สรพ.เพื่อทำกระบวนการต่อ
  2. การนำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปขยายผล และดำเนินการในกลุ่มโรงพยาบาล มีข้อเสนอ 2 กลุ่ม คือ 1) โรงพยาบาลกลุ่มไข่แดง มีประชากรเป็นพหุวัฒนธรรม เป็นโรงพยาบาลที่มีโอกาส มีความสนใจ มีแกนนขับเคลื่อนเรื่องนี้ อยู่ในขั้นตอนการขอเสนอการรับรองสถานพยาบาล หรือชุดความรู้เฉพาะ มาหยิบเป็นประเด็นในการประเมินตนเอง ในกลุ่มนี้จะเป็นโรงพยาบาลใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ หรือขยายผลไปที่อื่น การทำงานกับกลุ่มนี้ทีมคณะทำงานภาคใต้เอาทีมมาแลกเปลี่ยนกับ สรพ.2) กลุ่มไข่ขาว การเคลื่อนในกลุ่มนี้มี 2 ส่วน คือ สถานพยาบาลกับหน่วยปฐมภูมิ ในระบบปฐมภูมิมีฐานสำหรับการขับเคลื่อน พร้อมต่อยอดได้ กลุ่มประชากรไม่เป็นพหุวัฒนธรรม  เห็นองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ กลุ่มประชากรที่มีความต้องการพิเศษ มีทั้งกลุ่มสนใจเข้าร่วมเรียนรู้ เอาโรงพยาบาลในกลุ่มนี้มาจัดกระบวนการ
  3. การเยี่ยมสำรวจ มี 2 องค์ประกอบ คือ ผู้เยี่ยมสำรวจใช้ SHA ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านพหุวัฒนธรรม
  4. จัดทำเป้าหมาย สิ่งที่ทีมขับเคลื่อนอยากเห็นผลจากชุดความรู้ 3 ปี และให้ทาง สรพ.สนับสนุนอย่างไร Output ที่อยากเห็น ได้รับการรับรอง PDSS
  • photo messageImage_1727855542899.jpgmessageImage_1727855542899.jpg
  • photo messageImage_1727852176501.jpgmessageImage_1727852176501.jpg
  • photo messageImage_1727850886082.jpgmessageImage_1727850886082.jpg
  • photo messageImage_1727850809874.jpgmessageImage_1727850809874.jpg

 

8 8

8. ประชุมจัดทำมาตรฐานระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมบูรณาการร่วมกับมาตรฐาน HA

วันที่ 19 ตุลาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • วิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหามาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเปรียบเทียบกับมาตรฐาน HA

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความสอดคล้องใน 3 ด้าน คือ ภาพรวมการบริหารองค์กร ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล และกระบวนการดูแลผู้ป่วย

  • photo 988A557A-724B-4631-A01D-E3585255ED83.jpg988A557A-724B-4631-A01D-E3585255ED83.jpg

 

10 9

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำร่างหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม (2) ประชุมทีมวิชาการให้ข้อเสนอแนะต่อหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจนำคู่มือมาตรฐานไปปรับใช้ในการจัดบริการสุขภาพ (3) ประชุมทีมวิชาการให้ข้อเสนอแนะต่อหลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงพยาบาลที่สนใจนำคู่มือมาตรฐานไปปรับใช้ในการจัดบริการสุขภาพ Zoom ออนไลน์ (4) ประชุมจัดทำแบบประเมินตนเองและแบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ (5) ประชุมทีมวิชาการดูเครื่องมือ guideline แนวปฏิบัติให้กับโรงพยาบาลที่นำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปทดลองใช้ (6) ประชุมทีมวิชาการดูเครื่องมือ guideline แนวปฏิบัติให้กับโรงพยาบาลที่นำมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมไปทดลองใช้ผ่านระบบ Zoom (7) ประชุมร่วมกับ สรพ.บูรณาการมาตรฐานระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมกับมาตรฐาน Ha (8) ประชุมจัดทำมาตรฐานระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมบูรณาการร่วมกับมาตรฐาน HA

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การผลักดันมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมเข้าสู่ สรพ. จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด