สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

กองทุนสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ประชุมหารือการทำงานบูรณาการกลไกกองทุนสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานีร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี ระยะที่ 222 เมษายน 2567
22
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sutthisapan
  • 438301618_401454249377784_730247068513119904_n.jpg
  • 438263759_401454239377785_5274901691277732690_n.jpg
  • 438241754_401454142711128_2675878724367538563_n.jpg
  • 438241280_401454369377772_5922742323489259423_n.jpg
  • 438222543_401454522711090_4439869945240263076_n.jpg
  • 438204945_401454406044435_7048678299382553660_n.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อหารือ เเนวทางต่อการขับเคลื่อน ”กลไกจังหวัด สู่การเป็นกลไกกลาง โช่ข้อกลาง เเละคลังข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของสุราษฎร์ธานี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เมื่อวันที่ 22 เม.ย.2567 คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการกลไกบูรณาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (กสส.) เข้าพบ นายเเพทย์จิรชาติ เรืองวัชรินทร์ นายเเพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อหารือ เเนวทางต่อการขับเคลื่อน ”กลไกจังหวัด สู่การเป็นกลไกกลาง โช่ข้อกลาง เเละคลังข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของสุราษฎร์ธานี
  • สรุปการประชุมเข้าพบ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลให้เกิดการขับเคลื่อนทั้งจังหวัด โดยจากการดำเนินโครงการฯในปีที่ 1 พบว่ามี่ข้อจำกัดดังนี้
  1. ไม่มีโครงสร้างคำสั่งระดับจังหวัด
  2. ยุทศาสตร์การขับเคลื่อนใน 3 ประเด็น
  3. แนวทางหนุนเสริม กสส. ด้วยยุทธศาสตร์พื้นที่ และอำเภอ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวแนะแนวทางดำเนินโครงการฯในปีที่ 2 มีใจความสำคัญโดยสรุปดังนี้
  4. นิยามศัพท์ทางสาธารณสุข
  5. กลไกการขับเคลื่อน
  6. ข้อเสนอแนะและแนวทางการดำเนินโครงการฯ
  7. การปรับเปลี่ยน "โครงสร้างกรรมการคำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี เรื่อง การแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายดำเนินงานโครงการกลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (กสส.)"
  8. กระบวนการถัดไป
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ปี 2 กับ ประเด็นการขับเคลื่อนเป้าหมายร่วมยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด : ต้นแบบเมืองสมุนไพร ห่างไกล NCDs สังคมสูงวัยคุณภาพ” เริ่มต้น (1) Health Needs ของจังหวัด (2)รวบรวมคนทำงานทั้งสามประเด็นให้มาทำงานร่วมกัน (3) National Health Boards ต่อด้วยระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ..สู่การวางระบบจัดการด้วย กลไกที่มีอยู่เเล้ว เช่น พชอ. กองทุนอปท. ภาคส่วนประชาสังคม สู่เป้าหมาย สุขภาพที่ดีเป็นของทุกคน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 7 คน จากที่ตั้งไว้ 7 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่