กองทุนสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี
-
440132424_407701132086429_454618612750073847_n.jpg
-
440125611_407693245420551_5503835690137887340_n.jpg
-
438262787_407694272087115_7113393169664722857_n.jpg
เพื่อหารือต่อการทำงานบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ระยะที่ 2
- คณะทำงานขับเคลื่อน กสส. กับการดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ ระยะที่ 2 เข้าพบรองผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อหารือต่อการทำงานบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะสุราษฎร์ธานี ระยะที่ 2
- การขับเคลื่อน กสส. ปี 2 เน้นเป็นคลังข้อมูลต่อสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของคนสุราษฎร์ธานี สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด ต้นแบบเมืองสมุนไพร โรคเรื้อรังไม่ติดต่อ (NCDs) สังคมผู้สูงอายุ
- กสส. กับ การยกระดับการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาควิชาการ และสื่อสารมวลชน การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้ และการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย ซึ่งถือเป็นการขับเคลื่อนโครงการกลไกบูรณาการความร่วมมือเพื่อเสริมสร้างสุขภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานี ระยะที่ 2 (กสส.)
การพูดคุยเกิดข้อสรุปที่น่าสนใจ หลากหลายประเด็น ที่เป็นแนวทางการขับเคลื่อนของ กสส. เช่น
(1) การ MOU รูปแบบกิจกรรม ระดับจังหวัดต่อการบูรณาการภาคีเครือข่ายขับเคลื่อน ขับเคลื่อน 1) สมุนไพร 2)NCDs 3)ผู้สูงอายุ
(2) Health Data ต้องวัดที่ระดับรายบุคคลที่เกิดการเปลี่ยนเเปลง ให้เชื่อมกับ ThaiID กับ HealthID เเละระบบต่างๆที่มี
(3) กลไก ที่สำคัญที่สุด คือ กลไก “อสม.” กลไกสำคัญของการเชื่อมกับ พชต. เเละ พชอ. รวมไปถึง เข้าถึงข้อมูลระบบบุคคลได้ดีที่สุด
(4) 4)กลุ่มเปราะบาง เป็นอีกกลุ่มที่เรื่องสุขภาวะ ต้องดำเนินการช่วยดำเนินการ ทั้ง พมจ. แรงงาน และ สาธารณสุข
(5) พื้นที่นำร่องของการเป็นกลไกกลาง “โซ่ข้อกลาง” คือ พื้นที่อำเภอบ้านตาขุน เเละอำเภอพนม ความเข้มแข็งของพื้นที่ เเละยังเป็นพื้นที่ดำเนินการต้นแบบ 3 เรื่องสำคัญ 1) สมุนไพร 2)NCDs 3)ผู้สูงอายุ ทั้งเมืองสมุนไพร NCDs หายได้ที่สุราษฎร์ธานี เป็นต้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะทำงาน
ไม่มี