สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย น้ำหนักเพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร
20.00 10.00 10.00

1.นักเรียนได้กินผักที่ปลูกเอง

2.โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย

นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
100.00 50.00

ผลผลิตยังไม่ได้ตามเป้าหมาย

ต้องใช้ระยะเวลาดำเนินการ

รอผลผลิต

3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 70 ได้รับการเรียนรู้เรื่อง เศษฐกิจพอเพียง ตามศาสตร์พระราชา
70.00 70.00

เป็นแผนและหลักสูตรประจำโรงเรียน

นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นในด้าน ศก.พอเพียง

ครัวเรือนต้นแบบ