สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ปี 2567

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนขับเคลื่อนและกิจกรรมดำเนินงานในโครงการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้12 กุมภาพันธ์ 2567
12
กุมภาพันธ์ 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sutthisapan
  • LINE_ALBUM_1222024_๒๔๐๒๑๕_4.jpg
  • LINE_ALBUM_1222024_๒๔๐๒๑๕_2.jpg
  • 371905_0.jpg
  • 371904_0.jpg
  • 371364_0.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • กิจกรรมสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย สสส. 14 จังหวัดภาคใต้
  • ชี้แจ้งวัตถุประสงค์การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการกระบวนการพัฒนาระบบสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
  • เป้าหมายและทิศทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้
  • สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์ และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พบปะภาคี สสส.
  • การทำแผนขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
  • แบ่งกลุ่มจัดทำแผนขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
  • นำเสนอผลการปรึกษาหารือตามรายประเด็น   1) ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร   2) ประเด็นความมั่นคงทางมนูษย์   3) ประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ   4) ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากร   5) ทีมสื่อสุขภาพภาคใต้
  • แนวทางการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วม จำนวน 156 คน ประกอบด้วยเครือข่ายที่มาจาก หน่วยงานภาครัฐ 33 คน ท้องถิ่น 16 คน หน่วยงานระดับเขต 1 คน ภาคประชาสังคม/ประชาชน 48 คน ภาควิชาการมหาวิทยาลัยในภาคใต้ 37 คน ภาคเอกชน 3 คน และทีมสื่อภาคใต้ 18 คน
  • สรุปผลการหารือแต่ละประเด็น
  1. ประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ ประเด็นขับเคลื่อน การขับเคลื่อนงานที่ผ่านมาตอบโจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่และครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ใน 5 ประเด็น คือ 1) ลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ 2) สร้างเสริมสุขภาพ 3) ป้องกัน/ควบคุม 4) ระบบบริการสุขภาพ และ 5) สร้างระบบ/กลไก
  2. ประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ ทั้งนี้จะคู่ขนานกับประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ ว่า มีตัวชี้วัดเรื่องการเข้าถึงบริการทางสุขภาพด้วยหรือไม่ หากไม่มีในประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ การเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ ก็เป็นนิยามหนึ่งในประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์เป้าหมาย “ความมั่นคงทางมนุษย์”
  3. ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร เป้าหมาย คนใต้มีความมั่นคงทางอาหาร จะบรรลุ 2 เรื่อง คือ รายได้ กับ การผลิตเอง การบรรลุระยะสั้น “ทำอย่างไรให้มีรายได้พอให้ซื้ออาหารในพื้นที่กลุ่มเปราะบางสูง”
  4. ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความต้องการสนับสนุน คือ ประเด็นที่ควรขับเคลื่อนในระดับภาคใต้ การจัดทำยุทธศาสตร์ CBT ภาคใต้ (ตามกลุ่มจังหวัด) การจัดการภัยพิบัติ และการจัดทำผังการใช้ประโยชน์และการจัดการฐานทรัพยากรอย่างยั่งยืน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย

ภาคีเครือข่าย สสส.ในภาคใต้

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่