สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ปี 2567

ประชุมเครือข่ายนักวิชาการภัยพิบัติภาคใต้ และประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้17 พฤศจิกายน 2567
17
พฤศจิกายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sutthisapan
  • LINE_ALBUM_171167_241118_2.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_3.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_4.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_5.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_6.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_7.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_8.jpg
  • LINE_ALBUM_171167_241118_1.jpg
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาภัยพิบัติภาคใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • สังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติ ประเด็นและจุดเน้น และการทำเอกสารข้อเสนอเชิงนโยบาย (น้ำท่วม ภัยแล้ง ดินสไลด์ วาตภัย พายุ อากาศ PM ไฟป่า การกัดเซาะทรายฝั่งสินามิ แผ่นดินไหว ) โดย เครือข่ายนักวิชาการภาคใต้
  • ออกแบบการจัดทำข้อมูลภัยพิบัติเพื่อนำเสนอในเวทีรำลึก 20 ปี สึนามิ โดย • เครือข่ายนักวิชาการภาคใต้ • เครือข่ายภัยพิบัติภาคใต้ • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) • สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) • สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส The Active
    • เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ • เครือข่ายผู้เข้าร่วมประชุม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การทบทวนข้อมูลสถานการณ์ภัยพิบัติ และแนวโน้มในอนาคต (รูปแบบ ขนาด ความรุนแรง และผลกระทบ) ประเด็นการจัดทำข้อมูลทบทวนข้อมูลตั้งแต่ปี ค.ศ.2004 หรือก่อนหน้านี้จนถึงปัจจุบัน 1.สถานการณ์การเกิดภัยพิบัติ และแนวโน้มในอนาคต • รูปแบบการเกิดภัยพิบัติ ความถี่ • พื้นที่เสี่ยง
    • ขนาด และความรุนแรง • ผลกระทบ (ความเสียหาย จำนวนผู้เสียชีวิต เศรษฐกิจ สุขภาพ เป็นต้น) 2.สาเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการเกิดภัยพิบัติ 3.ทบทวน แนวทางการจัดการที่ผ่านมา นโยบาย/งบประมาณ แผนงานโครงการที่ผ่านมา

  • ประเภทภัยพิบัติ 1.น้ำท่วม ภัยแล้ง 2.ดินสไลด์ 3.วาตภัย พายุ 4.การเปลี่ยนแปลสภาพอากาศ PM ไฟป่า 5.การกัดเซาะทรายฝั่ง 6.สึนามิ แผ่นดินไหว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 0 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน และทีมวิชาการภัยพิบัติภาคใต้

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่