ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ปี 2567
-
439605450_354161121002032_2321766761043523467_n.jpg
-
439908673_354160977668713_3214923349718770333_n.jpg
-
439605371_354161057668705_4607167511557918989_n.jpg
-
439514717_354161071002037_1931226231597565451_n.jpg
1.เพื่อทบทวนเส้นทาง กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะผ่านเครื่องมือทางนโยบายที่สำคัญ 2. เพื่อสร้างความเข้าใจ รับรู้สถานการณ์สำคัญร่วมของภาคและนำไปสู่การวางเป้าหมายใหญ่ร่วมในการเคลื่อนงานทั้งระบบ 3. เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์การทำงานของหน่วยงานภาคียุทธศ
วันที่ 22 เมษายน 2567
12.30-13.00 ลงทะเบียนรับเอกสาร
13.00-13.30 กล่าวต้อนรับโดย นายไมตรี จงไกรจักร กรรมการสุขภาพแห่งชาติ เปิดการประชุมและทิศทางสำคัญในการขับเคลื่อนนโนบายสาธารณะ โดยนายแพทย์สุเทพ เพชรมาก
13.330-14.00 Ice breakinh "รู้จักตนเอง รู้จักเพื่อน" รู้ใจ เห็นเส้นทางเพื่อนภาคีในงานพัฒนา
14.00-15.00 ต้นทุนและพัฒนาการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะของภาคใต้ โดยนายจารึก ไชยรักษ์ กระบวนการทบทวนเส้นทางพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีและกินได้ " ทบทวน 4 PWของแต่ละจังหวัด"
15.00-16.00 กลุ่มย่อยวิเคราะห์สถานการณ์สำคัญ เครือข่าย คน กลไก แผนงานสำคัญที่จะขับเคลื่อนในพื้นที่/จังหวัด(หาประเด็นร่วม เห็นคน/เครือข่าย ข้อเสนอที่จะขับเคลื่อนในพื้นที่) แบ่งตามภูมินิเวศน์ โดยใช้ประเด็นร่วมจากสร้างสุขภาคใต้ ได้แก่ 1. ด้านเกษตรสุขภาพ อาหารปลอดภัย สารเคมี 2. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ด้านสุขภาวะกลุ่มช่วงวัย ระบบสังคมผู้สูงวัย
16.00-18.00 นำเสนอกลุ่มย่อยตามภูมินิเวศน์
18.00-20.30 กิจกรรมสานสัมพันธ์ ภาคีเครือข่าย
วันที่ 23 เมษายน 2567
08.30-09.00 ทบทวนกระบวนการและเนื้อหา
09.00-10.30 Policy Forum แลอนาคต สถานการณ์และทิศทางการพัฒนานโยบายสาธารณะสู่ภาคใต้แห่งความสุข
10.30-11.45 เป้าหมาย แนวทาง แผนงานสำคัญและการจัดกลไกในจังหวัดเติมเต็ม ให้ความเห็นโดยผู้แทนภาคีพัฒนา เป้าหมายจังหวะก้าวและงานสำคัญ อย่างไรทิศทางข้างหน้าร่วมกัน
11.45-12.30 สรุปเป้าหมายร่วมและแนวทางการขับเคลื่อนร่วมกัน
สรุปแนวทางการดำเนินงานกัน และเป้าหมายร่วมของการสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีและกินได้ สู่ภาคใต้แห่งความสุข ได้แก่
1. คน ทีมคณะทำงาน : ต้องมีการเสริมพลังคนทำงาน สร้างคนรุ่นใหม่
2. กระบวนการระดับจังหวัด : มีกระบวนการทำนโยบายสาธารณะที่หลากหลาย ยืดหยุ่น เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่
3. ภาคีร่วม : มีการทำงานร่วมกันของภาคีต่างๆ ในพื้นที่กลางของจังหวัด
4. มีการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
5. มีระบบฐานข้อมูลกลาง ที่รวบรวมข้อมูลการทำงาน ข้อมูลภาคีเครือข่าย
()
ประกอบด้วย
1.เครือข่ายสมัชาสุขภาพ 14 จังหวัด 2.กรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 11 และ 12 3.กรรมการสุขภาพแห่งชาติ เขต11 และ 12 4.ผู้แทนองค์กรหน่วยงานภาคียุทธศาสตร์ สถาบันการศึกษาที่ร่วมทำงานด้วย เช่น สธ. พอช. สสส. สปสช. สำนักงานพัฒนาสภาเศรษฐกิจและสังคมภาค กรรมการสิทธิมนุษยชน 5.เจ้าหน้าที่สช.