สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ปี 2567

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
พัฒนาระบบสารสนเทศโครงการพัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบยกร่างหลักสูตร กระบวนการนโยบายสาธารณพแบบมีส่วนร่วมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 11 ม.ค. 2567 11 ม.ค. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมวางแผนการขับเคลื่อนงานกลไกอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ 14 ม.ค. 2567 14 ม.ค. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมเครือข่ายสุขภาพวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศ 29 ม.ค. 2567 29 ม.ค. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมปรึกษาหารือกรอบการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ ร่วมกับสภส.สสส. 9 ก.พ. 2567 9 ก.พ. 2567

 

ประเด็นหารือการขับเคลื่อนวาระกลางปี 25667 การลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง 1.การขับเคลื่อนงานโครงการฯให้บรรลุผลลัพธ์การลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพในพื้นที่เขตเมือง 2.พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย (พื้นที่เขตเมือง)

 

*

 

ประชุมเพื่อเตรียมงาน การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนขับเคลื่อนกิจกรรมดำเนินงานในโครงการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 10 ก.พ. 2567 10 ก.พ. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการสุขภาวะด้วยกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม 3 มี.ค. 2567 3 มี.ค. 2567

 

วันที่ 4 มีนาคม 2567 การอบรม 4 หัวข้อจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญดังนี้ - นโยบายสาธารณะ และนวัตกรรมนโยบาย : นายสุริยนต์ ธัญกิจจานุกิจ สนง.สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - กระบวนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในประเทศไทย : ผศ.ดร. พงค์เทพ สุธีรวุฒิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมกรณีศึกษา SEA จังหวัดสงขลาและปัตตานี : ดร. สินาด ตรีวรรณไชย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในต่างประเทศ : นพ. ภูษิต ประคองสาย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย

วันที่ 5 มีนาคม 2567 การอบรมเชิงปฏิบัติการโดยมีวิทยากรที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ ที่มาเสนอดังนี้
- นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก : นำเสนอเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ โดยเฉพาะเรื่องการเข้าร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจทางนโยบายสาธารณะ ซึ่งเป็นแนวทางที่สำคัญในการสร้างนโยบายที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น - ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ : นำเสนอเกี่ยวกับกระบวนการกำหนดทางเลือกและการตัดสินใจในนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญในการพัฒนานโยบายที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชน - นายกรณ์เชษฐ์ สิทธิพันธ์ : เล่าถึงประสบการณ์ในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติที่ระดับท้องถิ่น ซึ่งเป็นการนำเสนอที่มีความเป็นประสบการณ์และน่าสนใจสำหรับผู้ที่สนใจในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติในระดับชุมชน - นายกิตติภพ สุทธิสว่าง : นำเสนอเกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลนโยบายสาธารณะ ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญในการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของนโยบายที่ได้นำมาปฏิบัติให้เห็นว่ามีผลต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างไร

วันที่ 6 มีนาคม 2567 การอบรมจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้ - กระบวนการออกแบบนวัตกรรมนโยบาย : Thailand Policy Lab (TPLab) - ความรู้และความสำคัญของการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ และตัวอย่างการขับเคลื่อน : นายจารึก ไชยรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ - ฝึกวิเคราะห์ Social Determinants of Health (SDH) โดยใช้ Card game on 'What makes him fat?" : นายบัณฑิต มั่นคง และนายจักรรินทร์ สีมา - การฝึกทักษะและจัดกระบวนการกลุ่มย่อยหัวข้อ Stakeholder analysis, Shared Vision setting : นายบัณฑิต มั่นคง และนายจักรรินทร์ สีมา - สรุปภาพรวมหัวใจสำคัญของการทำนโยบายสาธารณะ : นายจารึก ไชยรักษ์

วันที่ 7 มีนาคม 25667
- ลงพื้นที่ศึกษาดูงานธรรมนูญสุขภาพตำบลชะแล้ และ SEA อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
วันที่ 8 มีนาคม 2567
-นำเสนอผลการศึกษาดูงาน

 

  1. กระบวนการของวันที่ 1 การได้ความรู้จากการอบรม 4 หัวข้อจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ในเรื่องกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
  2. กระบวนการของวันที่ 2 ทำให้เกิดการอภิปรายและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่มีความสำคัญในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในประเทศไทย โดยเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวกับการเข้าร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจทางนโยบายสาธารณะที่มีผลต่อสุขภาพของชุมชน โดยมีผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยที่เข้าร่วมในการประชุมนี้มีความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ เช่น การก่อตัวของนโยบายสาธารณะ การกำหนดทางเลือกและการตัดสินใจนโยบายสาธารณะ การนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ การติดตามและประเมินผลนโยบายสาธารณะ รวมถึงความต่อเนื่อง การทดแทนและการสิ้นสุดนโยบายสาธารณะ เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกรณีศึกษาจริง ซึ่งมาจากสถานที่ที่แตกต่างกัน เช่น ธรรมนูญสุขภาพตำบลชะแล้ และ SEA อำเภอจะนะ ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความรู้ในการจัดการสุขภาวะด้วยกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพขึ้นในประเทศไทย
  3. กระบวนการของวันที่ 3 ทำให้การจัดการสุขภาวะด้วยกระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม เน้นการสร้างการเข้าร่วมและมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจของนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะของประชากร โดยมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมในกระบวนการนโยบายที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาและดำเนินนโยบายอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงสุด เป้าหมายคือการสร้างสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยความเข้าใจและการยอมรับต่อปัญหาสุขภาพที่สำคัญของสังคม และการพัฒนานโยบายที่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างเหมาะสมและมีผลสัมฤทธิ์ในการส่งเสริมสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยผู้เข้าร่วมจะได้รับความรู้และเครื่องมือในการออกแบบนโยบาย การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ การทำความเข้าใจเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการนโยบาย และการกำหนดวิสัยที่ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสามารถมีส่วนร่วมและมีผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชากรในทุกๆ ระดับ
  4. กระบวนการของวันที่ 4 ลงเรียนรู้กระบวนการนโยบายสาธารณะในพื้นที่บ้านสวนกง จะนะ พื้นที่ที่เป็นแหล่งอาหารทะเลอันอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ที่ชาวบ้านออกมาต่อสู้ปกป้องทรัพยากรให้คงอยู่อย่างยั่งยืนชั่วรุ่นหลาน การต่อสู้กับโครงการขนาดใหญ่ที่จะเกิดขึ้นในบ้านสวนกง ทั้งโรงไฟฟ้าถ่านหิน ท่าเทียบเรือ langbrige ฯลฯ แต่ด้วยความเข้มแข็งของชุมชนที่ยืนหยัดอย่างมั่นคงว่าเลจะนะ ต้องเป็นแหล่งอาหารเลี้ยงคนในจะนะได้ตลอดไป
  5. กระบวนการลงพื้นที่ทำให้ผู้เข้าร่วมได้เข้าใจแก่นแท้ของการมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะได้มากยิ่งขึ้น

 

เข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะสู่ภาคใต้แห่งความสุข 22 เม.ย. 2567 22 เม.ย. 2567

 

วันที่ 22 เมษายน 2567 12.30-13.00 ลงทะเบียนรับเอกสาร 13.00-13.30 กล่าวต้อนรับโดย นายไมตรี จงไกรจักร กรรมการสุขภาพแห่งชาติ เปิดการประชุมและทิศทางสำคัญในการขับเคลื่อนนโนบายสาธารณะ โดยนายแพทย์สุเทพ เพชรมาก 13.330-14.00 Ice breakinh "รู้จักตนเอง รู้จักเพื่อน" รู้ใจ เห็นเส้นทางเพื่อนภาคีในงานพัฒนา 14.00-15.00 ต้นทุนและพัฒนาการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะของภาคใต้ โดยนายจารึก ไชยรักษ์ กระบวนการทบทวนเส้นทางพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีและกินได้ " ทบทวน 4 PWของแต่ละจังหวัด" 15.00-16.00 กลุ่มย่อยวิเคราะห์สถานการณ์สำคัญ เครือข่าย คน กลไก แผนงานสำคัญที่จะขับเคลื่อนในพื้นที่/จังหวัด(หาประเด็นร่วม เห็นคน/เครือข่าย ข้อเสนอที่จะขับเคลื่อนในพื้นที่) แบ่งตามภูมินิเวศน์ โดยใช้ประเด็นร่วมจากสร้างสุขภาคใต้ ได้แก่ 1. ด้านเกษตรสุขภาพ อาหารปลอดภัย สารเคมี 2. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ด้านสุขภาวะกลุ่มช่วงวัย ระบบสังคมผู้สูงวัย 16.00-18.00 นำเสนอกลุ่มย่อยตามภูมินิเวศน์ 18.00-20.30 กิจกรรมสานสัมพันธ์ ภาคีเครือข่าย
วันที่ 23 เมษายน 2567 08.30-09.00 ทบทวนกระบวนการและเนื้อหา 09.00-10.30 Policy Forum แลอนาคต สถานการณ์และทิศทางการพัฒนานโยบายสาธารณะสู่ภาคใต้แห่งความสุข 10.30-11.45 เป้าหมาย แนวทาง แผนงานสำคัญและการจัดกลไกในจังหวัดเติมเต็ม ให้ความเห็นโดยผู้แทนภาคีพัฒนา เป้าหมายจังหวะก้าวและงานสำคัญ อย่างไรทิศทางข้างหน้าร่วมกัน 11.45-12.30 สรุปเป้าหมายร่วมและแนวทางการขับเคลื่อนร่วมกัน

 

สรุปแนวทางการดำเนินงานกัน และเป้าหมายร่วมของการสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดีและกินได้ สู่ภาคใต้แห่งความสุข ได้แก่ 1. คน ทีมคณะทำงาน : ต้องมีการเสริมพลังคนทำงาน สร้างคนรุ่นใหม่
2. กระบวนการระดับจังหวัด : มีกระบวนการทำนโยบายสาธารณะที่หลากหลาย ยืดหยุ่น เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ 3. ภาคีร่วม : มีการทำงานร่วมกันของภาคีต่างๆ ในพื้นที่กลางของจังหวัด
4. มีการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
5. มีระบบฐานข้อมูลกลาง ที่รวบรวมข้อมูลการทำงาน ข้อมูลภาคีเครือข่าย

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 มิ.ย. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมวางแผนการดำเนินงาน core team สื่อสารสาธาณะ 27 มิ.ย. 2567 27 มิ.ย. 2567

 

  1. ประชุมวางแผนเพื่อจัดตั้งกอง บก.สนส.ม.อ. เป็นศูนย์กลางเพื่อกำหนดกลยุทธ์งานด้านการสื่อสาร (War Room)
  2. พิจารณาคัดเลือกจัดตั้งกอง บก.ใน 4 ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร, มนุษย์, สุขภาพ และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  3. วางแผนงานในการผลิตชิ้นงานสื่อและช่องทางการเผยแพร่ โดย กอง บก.สนส.ม.อ.ร่วมกับ กอง บก.ประเด็น และทีมนักวิชาการขับเคลื่อนงานประเด็น

 

  1. มีการจัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจและการเลือก/สกัด/วิเคราะห์ ข้อมูลจากผลการขับเคลื่อนงานใน 4 ประเด็นความมั่นคง (ทีมนักวิชาการ/ทีมขับเคลื่อน/กอง บก.สนส.ม.อ./กอง บ.ก. ประเด็น)
  2. ดำเนินการคัดเลือกประเด็นสำคัญจากงานขับเคลื่อนเพื่อนำมาเป็น Content สำคัญในการสื่อสาร Clip/infographic และการจัดเวที
  3. ดำเนินการนำชิ้นงานสื่อเผยแพร่ผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ
  4. ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้

 

ประชุมพัฒนาระบบสารสนเทศโครงการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการกสร้างเสริมสุขภาพ 16 ม.ค. 2567 16 ม.ค. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมออกแบบและพัฒนาสารสนเทศโครงการพัฒนาระบบกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 18 ม.ค. 2567 18 ม.ค. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมหารือการพัฒนาเว็บไซต์สนับสนุนเครือข่ายในโครงการพัฒนาระบบกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ 6 ก.พ. 2567 6 ก.พ. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนขับเคลื่อนและกิจกรรมดำเนินงานในโครงการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 12 ก.พ. 2567

 

 

 

 

 

เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร Visual Note วิธีการเขียนโน๊ตด้วยภาพ 19 ก.พ. 2567 19 ก.พ. 2567

 

*

 

*

 

ประชุมออกแบบเว็บไซต์ โครงการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 28 มี.ค. 2567 28 มี.ค. 2567

 

ประชุมออกแบบเว็บไซต์ที่เครือข่ายสามารถเข้ามาติดตามข่าวสาร ???? เวทีกลางของการสื่อสาร และการรายงานผลกิจกรรมการขับเคลื่อนงานของภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้

 

ได้รูปแบบเว็บไซต์ที่จะทำเพื่อให้เครือข่ายสามารถเข้ามาติดตามข่าวสาร และการรายงานผลกิจกรรมการขับเคลื่อนงานของภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้