สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการกินดีอยู่ดีบนวิถีพอเพียงโรงเรียนวัดบ้านลุ่ม (โรงเรียนวัดบ้านลุ่ม)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยขน์ ร้อยละ 80
80.00 100.00

1.นักเรียนได้รับประทานเมนู่จาก ผัก ปลาดุก เห็ดนางฟ้า จากโครงการฯ

2.ผลผลิตที่ป้อนสู่โรงครัวของโรงเรียน เกิดเป็นเมนูอาหารกลางให้กับนักเรียน

3.ผลผลิตที่ได้จากโครงการฯ เช่นผัก ปลาดุก เห็ดนางฟ้า มีความปลอดภัย

4.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
2.ผลผลิตมีความปลอดภัย
3.นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง

เพราะนักเรียนได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ทุกคน

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษ ร้อยละ 80
80.00 100.00

1.ผลผลิตที่ได้จากโครงการฯ เช่นผัก ปลาดุก เห็ดนางฟ้า มีความปลอดภัย

ผลผลิตมีความปลอดภัย

เพราะนักเรียนได้รับประทานที่ปลอดสารพิษทุกคน

3 เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 3.นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ 80
80.00 85.00

นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

เพราะนักเรียนได้รับประทานอาหารถูกตามหลักโภชนาการ

4 เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 80
80.00 90.00

นักเรียนมีกิจกรรมทางด้านการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

นักเรียนมีทักษะในการทำการเกษตรและเลี้ยงปลา และได้รู้ แหล่งวัตถุดินมาทำอาหารกลางวัน ไ้อย่างสะอาดและปลอดภัย

เพราะนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง