สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การดำเนินงานขับเคลื่อนและยกระดับระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในจังหวัดนราธิวาส

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1. ขับเคลื่อนรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนให้เกิด การขยายผลในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ชายแดนเพื่อนําไปสู้การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

2. พัฒนาต้นแบบระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ที่แก้ปัญหาภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กนักเรียน และกลุ่มเปราะบาง ตำบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส โดยส่งเสริมความรอบรู้และสร้างปฏิบัติการด้านอาหาร (ความมั่นคงอาหาร/อาหารปลอดภัย/ โภชนาการ) 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

1.2 ทีมนักวิชาการออกแบบหลักสูตรเกษตรกรรมยั่งยืนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ จากเกษตรกร 10 แห่ง และออกแบบเครื่องมือประเมินความมั่นคงทางอาหาร ระดับครัวเรือน (นำไปใช้ประเมินกลุ่มเป้าหมาย 200 คน) 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

2.1 เตรียมความพร้อมการทำงานตำบลต้นแบบบูรณาการระบบอาหาร ประสาน อบต. คัดเลือกแกนนำตำบล ตำบลละ 5 คน (รพ.สต.,ผญ.,ครู,แกนนำเกษตรกร กลุ่มอาชีพ,อสม.) ประชุมชี้แจงการทำงานตำบลบูรณาการระบบอาหาร รวมทั้งสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือ CHIA ประเมินระบบอาหารตลอดห่วงโ 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

3. พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมบริโภคอาหารเพื่อสุข ภาวะ/ระบบอาหารที่ยั่งยืน โดยกลไกกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน (จังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) กลไกผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี กลไกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

4. กิจกรรมการสื่อสารสาธารณะและการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

5. การติดตามประเมินผลภายนอก 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความร่วมมือการยกระดับต้นแบบการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

1.3 สนส. และทีมวิชาการสร้างปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่งให้มีความพร้อมเป็นจุดถ่ายทอดการทำเกษตรกรรมยั่งยืน การเป็นทีมวิทยากร 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

2.2 ทีมนักวิชาการ จาก Thailand Policy lab, ม.อ.ปัตตานี, วสส.ยะลา ดำเนินการ Training แกนนำตำบล มีขีดความสามารถใช้แครื่องมือ CHIA ประเมินระบบอาหารตลอดห่วงโซ่, การวิเคราะห์ข้อมูล, การจัดทำแผนที่ต้นทุนระบบอาหารชุมชน, การจัดทำแผนงานโครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

3.1 ประชุมทีมคณะเศรษฐศาสตร์มอ. เพื่อวางแผนประเมินโครงการที่อยู่ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวักภาคใต้ชายแดน และแผนของอบจ. แผนปี 65และ66 เพื่อประเมินถึงความคุ้มค่าในมิติทางด้านเศรษฐกิจและสังคม 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

3.4 การประชุมกำหนดวาระนโยบายเรื่องความมั่นคงทางอาหาร เรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร นโยบายการแก้ปัญหาโภชนาการเด็ก ให้อยู่ในแผนของกลุ่มจังหวัดและอบจ. ปัตตานี 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

4.1 ประสานกับวิทยุมอ.88 หาดใหญ่ มอ.ปัตตานี เอามาออกแบบการพัฒนาประเด็นสื่อสาร ข้อเสนอเชิงนโยบายความมั่นคงทางอาหาร การทำเกษตรกรรมยั่งยืน ตลาดสีเขียวในชุมชน อาหารปลอดภัย นโยบายแก้ปัญหาด้านโภชนาการ เช่นเด็กเตี้ย เด็กผอม 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

5.1 ติดตามประเมินผลภายในโครงการ เพื่อติดตามความก้าวหน้าตามตัวชี้วัดและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้รับผิดชอบโครงการรวมทั้งช่วยประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เช่นค่าใช้จ่ายงบประมาณในแต่ละกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลประโยชน์ 1 ธ.ค. 2566

 

 

 

 

 

6. ติดตามผลความรอบรู้ด้านอาหารเพื่อสุขภาวะ รวมทั้งจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ท้องถิ่นตําบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

1.4 จัด workshop ให้เกษตรกร 200 คน ในพื้นที่แปลงเรียนรู้ของเกษตรกรต้นแบบ พร้อมกับประเมินความมั่นคงทางอาหาร ของกลุ่มเป้าหมาย 200 คน 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

2.3 แกนนำตำบล ดำเนินการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

2.7 อบต. สปสช. โหนด สสส. ทีมวิชาการ ประชุมพิจารณาโครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ จัดกลุ่มชุดโครงการที่ใช้งบประมาณจาก สปสช., ชุดโครงการที่ใช้งบประมาณจากแผนงานร่วมทุน สสสและ อบจ.,ชุดโครงการที่ใช้งบประมาณกับสำนักอื่นๆของ สสส. 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

2.8 โครงการสร้างปฏิบัติการในพื้นที่ 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

2.9 จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพเครือข่ายอาหารให้มีความสามารถดำเนินงานการจัดการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ (หลักสูตร non degree) 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

3.2 ทีมนักวิชาการลงพื้นที่ประเมินโครงการ 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

6.1 ทีมวิชาการ ม.อ. ปัตตานี ,วสส.ยะลา ,ติดตามประเมินผลแบบเสริมพลังให้กับตำบลสุคิริน โดยประเมินผลผลัพธ์ เรื่อง ความสามารถของคน ความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ความรู้ที่เกิดขั้นจากการทำงาน มาตรนโยบาย (อาจจะเอาเครื่องมือการประเมินโครงการของ ชุมชนน่าอยู่) 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

1.5 ระบบติดตามสนับสนุนให้คำปรึกษาการทำเกษตรกรรมยั่งยืน (กลุ่มไลน์) ให้กับแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่ง และแกนนำเกษตรกร 200 คน 1 ก.พ. 2567

 

 

 

 

 

2.4 นักวิชาการ แกนนำตำบลจัดทำแผนที่ต้นทุนระบบอาหารชุมชน 1 ก.พ. 2567

 

 

 

 

 

2.5 นักวิชาการ แกนนำตำบล workshop การเขียนแผนงาน โครงการระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ 1 ก.พ. 2567

 

 

 

 

 

3.3 นักวิชาการนำผลการประเมินคืนให้กับส่วนราชการที่ดำเนินโครงการ พร้อมกับworkshop การยกระดับการทำแผนงานโครงการที่ตอบความคุ้มค่าในมิติเศรษฐกิจและสังคม 1 มี.ค. 2567

 

 

 

 

 

4.2 จัดเวทีนโยบายในพื้นที่(คลายๆ Thai pbs) 1 มี.ค. 2567

 

 

 

 

 

2.6 ทีมนักวิชาการ แกนนำตำบล อสม. ออกแบบการทำกลไกติดตามด้านโภชนาการในพื้นที่ - โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ - หลักสูตรพัฒนาศักยภาพ อสม. ครูพี่เลี้ยง ครูในโรงเรียน ผู้ปกครอง ให้สามารถเฝ้าระวังโภชนาการ 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

1.6 เดือน ก.ค.ประเมินความมั่นคงทางอาหารในครัวเรือน เกษตรกร 200 คน (ประเมินหลังการเข้าร่วมกิจกรรม) 1 พ.ค. 2567

 

 

 

 

 

7. การพัฒนาชุดความรู้ แนวทางปฏิบัติ และคู่มือ Model เกษตรกรรมยั่งยืนใน สวนยางพารา ขยายผลกับการยางแห่งประเทศไทยสามจังหวัดภาคใต้ชายแดน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 มิ.ย. 2567

 

 

 

 

 

6.2 นักวิชาการ แกนนำตำบล สรุปบทเรียน และจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ 1 มิ.ย. 2567

 

 

 

 

 

7.1 นักวิชาการลงพื้นที่ ประเมินแหล่งเรียนรู้ทั้ง 10 แห่ง ถอดบทเรียนการเป็นแหล่งเรียนรู้ และจัดทำ model แหล่งเรียนรู้ฯ จัดทำเป็นแนวทางปฏิบัติการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยางพารา 1 มิ.ย. 2567

 

 

 

 

 

7.2 จัดประชุมแลกเปลี่ยนการทำเกษตรกรรมยั่งยืน ในรูปแบบการจัดประชุมวิชาการ หรือการจัดสมัชชาเรื่องสวนยางยั่งยืน ทั้ง onsite และ online 1 ส.ค. 2567

 

 

 

 

 

ประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯกับผู้บริหารท้องถิ่น และแกนนำชุมชน 14 ธ.ค. 2566 14 ธ.ค. 2566

 

จัดประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ ให้กับผู้บริหารท้องถิ่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และแกนนำชุมชน ของตำบลสุคิริน อ.สุคิริน จ.นราธิวาส จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 30 ราย ผ่านระบบ Zoom

 

ผู้บริหาร อบต.สุคิริน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้ให้ข้อมูลศักยภาพตำบลสุคิริน ดังนี้ 1. ตำบลสุคิริน มีจุดแข็ง คือ มีทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย  มีแกนนำชุมชนที่เข้มแข็ง
2. จุดอ่อน คือ การจัดการด้านการแปรรูปสินค้าเกษตร ขาดเทคโนโลยีด้านการเกษตร การผลิตอาหารในพื้นที่ยังเป็นแบบเชิงเดียวทัั้งสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน ไม้ผล ประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้การกินอาหาร
3. การดำเนินงานด้านระบบอาหารในพื้นที่ของหน่วยงาน
- รพ.สต. มีโครงการส่งเสริมการบริโภคอาหาร เช่น ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ในโรงเรียน มีการติดตามเฝ้าระวังโภชนาการ สุขภาวะเด็ก ซึ่งในพื้นที่พบปัญหาเด็กอ้วน น้ำหนักเกิน และ NCD ในกลุ่มผู้สูงอายุ และพบว่าโรคเบาหวานในผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 ทำให้ รพ.สต.มีแนวททางจัดการปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร - ศพด. มีการใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการกำหนดเมนูอาหาร โภชนาการของเด็กอยู่ในระดับดี  ไม่มีเด็กเตี้ย แต่พบมีเด็กอ้วน ซึ่งมาจากพฤติกรรมการกินขนมหวาน
- ท้องถิ่น มีโครงการตรวจเลือดเกษตรกร พบสารเคมีในเลือดร้อยละ 80 ทำให้เกิดโครงการงบ สปสช. เรื่องส่งเสริมการทำเกษตรปลอดภัย ซึ่งโครงการอาหารปลอดภัยท้องถิ่นส่งเสริมมาเป็นอย่างต่อเนื่องเกือบ 10 ปี  มีการทำแบรนด์สินค้า
- โรงเรียน ใช้ Thai school lunch กำหนดเมนูอาหารกลางวัน มีโครงการอาหารเช้าให้เด็กทุกคน ร้านค้ารอบโรงเรียนมีการจำหน่ายขนมไม่มีคุณภาพ
- กลุ่มเครื่องแกง ในชุมชนมี 2 กลุ่ม  ผ่าน อย. 1 กลุ่ม
- กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง  ได้ร่วมกิจกรรมกับ กยท. สุไหงโกลก มีกิจกรรมส่งเสริมการปลูกพืชในสวนยาง เช่น สละอินโด การปลูกหมาก และมีการรวมกลุ่มผลิตยางที่มีคุณภาพ