สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

assignment
บันทึกกิจกรรม
การประชุมระดมสมองทิศทางการจัดทำข้อเสนอนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม26 มีนาคม 2566
26
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมคณะทำงานคัดเลือกพื้นที่ในการขับเคลื่อนงาน 4 ประเด็น
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อเสนอในการเลือกพื้นที่
  1. บูรณาการได้ทั้ง 4 ประเด็น เพื่อสร้างสุขภาวะ นครศรีอยู่ดีมีสุข
  2. มีเจ้าของพื้นที่และภาคีที่เกี่ยวข้องร่วมขับเคลื่อน เกิดประโยชน์ต่อพื้นที่ ช่วยสนับสนุนตามบริบทของพื้นที่
  3. พื้นที่มีนโยบายอยู่บ้างแล้ว ยกระดับให้ขยายผลในจังหวัดให้เห็นถึงการจัดการระดับนโยบาย
  4. องค์ประกอบผู้เข้าร่วมมีครบและทีมวิชาการนัดหมายลงถอดบทเรียนได้
การประชุมระดมสมองทิศทางการจัดทำข้อเสนอนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม23 กุมภาพันธ์ 2566
23
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมคณะทำงานระดมสมองเพื่อออกแบบการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กำหนดหัวเรื่องและทีมขับเคลื่อนดังนี้
  1. ความมั่นคงทางอาหาร "กินเปลี่ยนเมือง" ผู้รับผิดชอบ นายอานนท์ มีศรี
  2. ความมั่นคงทางทรัพยากร เรื่องภัยพิบัต นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล
  3. ความมั่นคงทางมนุษย์ เรื่อง ชุมชนที่เป็นมิตรกับสังคม น.ส.วณิชญา ฉันสำราญ
  4. ความมั่นคงทางสุขภาพ เรื่องการจัดการสุขภาพในมิติใหม่ในยุคการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น" ดร.กันตพงษ์ คงหอม และ อ.กำไล สมรัก

- การบริหารจัดการงบประมาณจาก สนส.ม.อ.จำนวน 200,000 บาท - กำหนดให้มีทีมวิชาการ 2 ทีม คือ ทีมวิชาการกลาง อ.กำไล สมรักษ์ และทีมคณะทำงาน นายอานนท์ มีศรี - จัดโครงสร้างบริหารจัดการแบ่งเป็น 3 ทีม คือ คณะทำงานเครือข่ายหยวกกล้วย เลขางานกลาง และเลขารายงานประเด็น

การประชุมจัดทำ Roadmap สมัชชาสร้างสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช4 กุมภาพันธ์ 2566
4
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมเครือข่ายหยวกกล้วยขับเคลื่อน "นครศรีอยู่ดีมีสุข"
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดประเด็นขับเคลื่อน 5 ประเด็น คือ
  1. ความมั่นคงทางมนุษย์ สังคม และคุณภาพชีวิต ประกอบด้วยผู้สูงอายุ เด็ก และเยาวชน
  2. ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร การจัดการภัยพิบัติ
  3. ความมั่นคงทางอาหาร กินเปลี่ยนเมือง
  4. ความมั่นคงทางสุขภาพ
  5. ชุมชนจัดการตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน