ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง
-เพื่อนำสรุปผลการศึกษาเสนอต่อสาธารณะหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนตำบลม่วงกลวง
1.แจ้งวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม
2.นำเสนอผลการศึกษาการประเมินผลกระทบด้านสุขภาวะการจัดการท่องเที่ยวชุมชนตำบลม่วงกลวง
3.รับฟัง/แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอเพิ่มเติม
- ได้รายงานผลการศึกษาต่อสาธารณะ ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนม่วงกลวงได้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และรับฟังความคิดเห็นและความต้องการเพิ่มเติมของชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ตัวแทนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ผู้นำชุมชนและลูกบ้านที่สนใจ
- แกนนำกลุ่มบริหารจัดการท่องเที่ยวชุมชน
- การจัดการท่องเที่ยวชุมชนของกลุ่มไม่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- คณะทำงานมีความขัดแย้งเรื่องการใช้ประโยชน์ศูนย์การเรียนรู้ฯ กับหน่วยงานรัฐบางหน่วยงาน
- ขาดการสนับสนุนด้านการประชาสัมพันธ์จากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง
-
-
1.ประชุมพูดคุยกลุ่มย่อยประเด็นการพึ่งพาตนเองในการจัดการท่องเที่ยวชุมชน
2.ระดมความคิดเห็นเรื่องวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยว
-พูดคุยประเด็นความภาคภูมิใจในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนแบบพึ่งตนเองของชุมชนคลองลัดโนด ตำบลม่วงกลวง -เปิดประเด็นภาพมองในอนาคต นำไปสู่การระดมความคิดเห็นเรื่องวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายด้านการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน -ความคาดหวังในการสนับสนุนของหน่วยงานในท้องถิ่น/หน่วยงานภาครัฐต่อการจัดการท่องเที่ยวชุมชน
1.ได้รับทราบข้อมูลเพิ่มเติมในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนแบบพึ่งตนเอง
2.ได้วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายของชุมชนในด้านการจัดการท่องเที่ยว
3.ได้รับทราบความคาดหวังการสนับสนุนของภาครัฐ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
1.กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการท่องเที่ยวชุมชน 2.กลุ่มแกนนำในการบริหารจัดการ 3.ผู้นำกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มบริการเรือนำเที่ยว กลุ่มแม่ครัว กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นต้น
-
-
-
1.รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานโครงการ2.แลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นในการดำเนินงานในพื้นที่อื่น ๆ3.หารือทิศทางการกำหนดทิศทางยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชนในโซยอันดามันในอนาคต
1.รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
2.แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการศึกษาในแต่ละพื้นที่
3.หารือแนวทางการนำความต้องการของชุมชนมากำหนดยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวในอนาคต
1.รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานของโครงการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบโครงการศึกษาผลกระทบด้านสุขภาวะในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนโซนอันดามัน ประกอบด้วยจังหวัด สตูล กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรังและระนอง จำนวน 12 คน และผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ สจรส.จำนวน 4 คน
-
-
-
1.เพื่อศึกษาพัฒนาการการจัดการท่องเที่ยวชุมชนม่วงกลวงและความสัมพันธ์ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.รวบรวมข้อมูลด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน
- ประชุมกลุ่มย่อยให้ชุมชนได้เล่าถึงพัฒนาการการจัดการท่องเที่ยวชุมชนม่วงกลวง
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องผลิตภัณฑ์ของชุมชนและเส้นทางการขสยผลิตภัณฑ์
- เข้าสังเกตการณ์การจัดงานของชุมชน เพื่อรับรองผู้เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันวิ่งระยะไกล จ.ระนอง
1.ได้ทราบถึงพัฒนาการการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มการท่องเที่ยวชุมชนม่วงกลวง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 - 2561 ซึ่งจัดการท่องเที่ยวบนความใส่ใจต่อฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งคำนึงถึงความต้องการของคนในชุมชน 2.ได้เข้าสังเกตการณ์การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชน (เป็นช่วงที่จังหวัดระนองจัดการแข่งขันวิ่งระยะไกล ปลายทางอยู่ที่ชุมชนม่วงกลวง)
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ผู้นำชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนของตำบลม่วงกลวง จำนวน 22 คน
-
-
-
- เพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนตำบลม่วงกลวงและกำหนดขอบเขตการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพฯ ของชุมชน
- ประชุมกลุ่มย่อยตัวแทนกลุ่มเรือหางยาวนำเที่ยว ซึ่งมีอยู่ 3 กลุ่ม
- จัดกลุ่มพูดคุยผู้ถือหุ้นท่องเที่ยวชุมชนคลองลัดโนด ประเด็นแนวความคิดและความเชื่อมั่นในการลงหุ้นจัดการท่องเที่ยวในชุมชน
- ได้ข้อมูลสภาพการทำงานของกลุ่มเรือหางยาวนำเที่ยวซึ่งเป็นอาชีพเสริมจากการทำประมงชายฝั่ง และการทำงานร่วมกับกลุ่มท่องเที่ยวคลองลัดโนด
- ได้ทราบถึงความเป็นมาและจุดเริ่มต้นของการร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการลงหุ้นเพื่อจัดการท่องเที่ยวชุมชนคลองลัดโนด ตำบลม่วงกลาง ผลการดำเนินงานในระยะ 3-4 ปีที่ผ่านมา วิธีการบริหารจัดการ จนถึงการปันผลให้ผู้ถือหุ้นและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน รวมถึงการบริจาคเงินบางส่วนเพื่อกิจกรรมสาธารณประโยชน์ในชุมชน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- ตัวแทนกลุ่มเรือหางยาวนำเที่ยวและผู้ถือหุ้นกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนม่วงกลวง จำนวน 15 คน นั่งพูดคุยให้ข้อมูล แยกกันในแต่ละกลุ่ม
-
-
-
- เพื่อศึกษาข้อมูลผลิตภัณฑ์ของชุมชน- เพื่อสำรวจท่าเรือที่ใช้ในการเดินทางท่องเที่ยวหมู่เกาะนอกชายฝั่ง
ลงพื้นที่ ครั้งที่ 3 ในการเก็บข้อมูล
- ได้ทราบข้อมูลว่าผลิตภัณฑ์ของชุมชนส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์ประมง เช่น กุ้งเคยอบแห้ง น้ำพริกปลาป่น กะปิผงสำเร็จรูป ปลาเค็มฝังดินและเมล็ดมะม่วงหินพานต์
- ท่าเรือที่กลุ่มเรือใช้บริการนักท่องเที่ยวเดินทางไปยังหมู่เกาะนอกชายฝั่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ โดยกลุ่มเรือหางยาวหลายกลุ่มใช้ประโยชน์ร่วมกัน เพื่อเดินทางไปยังเกาะกำ เกาะค้างคาวและเกาะญี่ปุ่น รวมทั้งเส้นทางเชื่อมต่อไปยังแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมคือ เกาะพยามและเกาะสิมิลัน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักวิจัย 2 คน
-
-
-
- เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของการจัดการท่องเที่ยวชุมชนคลองลัดโนด ต.ม่วงกลวง อ.กะเปอร์ จ.ระนอง
- พบปะพูดคุยเพื่อรับทราบข้อมูลเบื้องต้น
- ลงดูพื้นที่หลักในการจัดกิจกรรมของกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนคลองลัดโนด ต.ม่วงกลวง
- ได้ทราบถึงการดำเนินงานของการจัดการท่องเที่ยวชุมชนคลองลัดโนด ต.ม่วงกลวง อ.กะเปอร์ จ.ระนอง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- กลุ่มแกนนำที่จัดการท่องเที่ยวชุมชน ตัวแทนกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ร่วมจัดกิจกรรมการท่องเที่ยว
-
- การดำเนินงานของกลุ่มมีลักษณะโดดเด่นในเรื่องการพึ่งพาตนเอง มีการระดมทุนในชุมชนเป็นหุ้น ๆ ละ 500 บาท ปัจจุบันมีสมาชิกถือหุ้นจำนวน 100 คน จำนวน 115 หุ้น
-
เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานชุมชนตำบลม่วงกลวงในการวางแผนการดำเนินโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลชุมชนม่วงกลวง พบชาวบ้านในที่ประชุมของตำบล สัมภาษณ์ประธานการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านม่วงกลวง คุณวิลาวัลย์ เสบสบาย
ได้ทราบข้อมูลชุมชน บริบทชุมชน ที่มาของกลุ่มเครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนตำบลม่วงกลวง
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
สมาชิกกลุ่มเครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชนตำบลม่วงกลวง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง จำนวน 5 คน นักวิจัย 4 คน เข้าร่วมในที่ประชุมของตำบลม่วงกลวง ซึ่งประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและผู้นำชุมชน จำนวนประมาณ 40 คน
ยังไม่มีความชัดเจนเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการกลุ่มเท่าที่ควร โดยจะต้องศึกษาโดยการสัมภาษณ์จากผู้ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
ในการกำหนดพื้นที่อาจจะต้องทราบถึงข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น และเกี่ยวข้องกับโครงการก่อนพอสมควร
ตำบลม่วงกลวงมีหลายหมู่บ้านควรจะระบุพื้นที่เป้าหมายให้ชัดเจน
- เพื่อรับฟังการชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน วิธีการติดตามและประเมินผลโครงการ
- แนะนำขอบเขตงานของสถาบันการจัดการระบบสุขภาวะ ม.อ.
- รับฟังการชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ
- วิธีการศึกษาวิจัยประเมินผลกระทบด้านสุขภาวะ (HIA) ในการจัดการท่องเที่ยวชุมชน
- แลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น
- ได้รู้จักสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.อ.
- เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการและวิธีการศึกษาวิจัยประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) ในการจัดการท่องเที่ยวชุมชน
- สามารถกำหนดแนวทางการศึกษาและแผนงานในการลงพื้นที่อย่างคร่าว ๆ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- อาจารย์ในสถาบันการศึกษา
- นักศึกษาปริญญาโท
- ผู้สนใจที่ทำงานคลุกคลีอยู่กับชุมชน
-
-
-