สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8 ”

เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลตำบลธาตุนาเวง เทศบาลตำบลงิ้วด่อน เทศบาลตำบลท่าแร่ และองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร

หัวหน้าโครงการ
ดร.ปทุมทิพย์ ม่านโคกสูง

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8

ที่อยู่ เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลตำบลธาตุนาเวง เทศบาลตำบลงิ้วด่อน เทศบาลตำบลท่าแร่ และองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร จังหวัด

รหัสโครงการ 65-P1-0205 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลตำบลธาตุนาเวง เทศบาลตำบลงิ้วด่อน เทศบาลตำบลท่าแร่ และองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลตำบลธาตุนาเวง เทศบาลตำบลงิ้วด่อน เทศบาลตำบลท่าแร่ และองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร รหัสโครงการ 65-P1-0205 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้กลไกการขับเคลื่อนระดับพื้นที่มีประสิทธิผล ประกอบด้วย 1) การสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพ (Health Literacy) ให้กับภาคีหลักหรือภาคียุทธศาสตร์ โดยเฉพาะคณะกรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบกองทุน และผู้ขอทุนสนับสนุนโครงการ 2) การมีแผนกองทุนที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและแก้ปัญหาประเด็นสุขภาพของชุมชน โดยเน้นการเพิ่มสุขภาวะและการเพิ่มคุณภาพชีวิตจากการแก้ปัญหาสาเหตุของภาระโรค ความพิการ และการตายก่อนวัยอันควร โดยการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ดีและมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ การลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด) สุขภาพจิต ความปลอดภัยทางถนน มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ 3) การมีโครงการที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์การจัดการปัญหาในพื้นที่ และมุ่งผลสัมฤทธิ์ต่อสุขภาวะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 1)
  2. ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan)
  3. คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 1)
  4. คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 2)
  5. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 2)
  6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 3-7)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนฯ รวม 10 คน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan)

วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1)
เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan)
วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 09.00-16.00น. ณ ห้องประชุมสมาคมพัฒนาประชาสังคมไทสกล อ.เมือง จ.สกลนคร

เวลา 08.30-09.00น. ลงทะเบียน เวลา 09.00-09.30น. ชี้แจงเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการโครงการบูรณาการกลไก สร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10) เวลา 09.30-11.30น. บรรยายเรื่อง ตัวชี้วัดระดับกองทุนที่เข้าร่วมโครงการฯ
ตัวชี้วัดที่ 1 เก็บข้อมูลโดยแบบสำรวจ (10 ประเด็น) ได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ตัวชี้วัดที่ 2 จัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ในโปรแกรมออนไลน์
ตัวชี้วัดที่ 3 พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะในโปรแกรมออนไลน์
วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10)
เวลา 11.30-12.00น. คณะทำงานระดับเขต/อำเภอ (เขต 8) ซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เวลา 12.00-13.00น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00-14.00น. บรรยายเรื่อง บทบาทหน้าที่ทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด/อำเภอ วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10)
เวลา 14.00-15.30น. บรรยายเรื่อง การวางแผนปฏิบัติการ เขต 8
วิทยากรโดย นายวินัย วงศ์อาสา มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี
(ทีมพี่เลี้ยงเขต 10) เวลา 15.30-16.00น. สรุปผลการประชุม และปิดการประชุม หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่างระหว่างการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลสรุปการประชุม (9 ธันวาคม 2565) 1. แผนปฎิบัติงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เขต 8 (อ.เมือง จ.สกลนคร พื้นที่ขยายผล 5 ตำบล) วัน/เดือน/ปี กิจกรรม 5 ธ.ค 65 ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan) กลุ่มเป้าหมาย 5 คน ม.ค.-66 - ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่ 5 ตำบล เข้าพบนายก อปท. เพื่อชี้แจงเป้าหมายของโครงการ - ประชุมชี้แจงเป้าหมาย/ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล กลุ่มเป้าหมาย 20 คน ม.ค. - ก.พ. 2566 เก็บข้อมูลระดับตำบล พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล ก.พ. 2566- ก.ย.2566 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯเจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ ติดตามประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย 10 คน
(รวม 4 ครั้ง) ดังนี้
ครั้งที่ 1 เดือน ก.พ. 2566 ครั้งที่ 2 เดือน มี.ค. 2566 ครั้งที่ 3 เดือน มิ.ย. 2566 ครั้งที่ 4 เดือน ก.ย. 2566 พ.ย.-66 สรุปบทเรียนการดำเนินงานและวางแนวทางการพัฒนากองทุนตำบล กลุ่มเป้าหมาย 20 คน

  1. ตัวชี้วัดระดับตำบล
    1. มีการเก็บข้อมูลโดยแบบสำรวจ (10 ประเด็น) ได้แก่ อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต)
      *เก็บข้อมูลทุกกองทุนๆละ 400 ชุด
    2. จัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ในโปรแกรมออนไลน์ อย่างน้อย 2 แผนงานต่อกองทุน (แผนงบปี 2566 และงบปี 2567)
    3. พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะในโปรแกรมออนไลน์  อย่างน้อย 2 โครงการต่อแผนงาน
      (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน)
    4. ได้รับอนุมัติงบประมาณจากกองทุน และมีการติดตามประเมินผลโครงการในโปรแกรมออนไลน์  (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน)
  • photo
  • photo
  • photo

 

11 0

2. คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 1)

วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สถานที่จัดกิจกรรม/ประชุม  ณ ห้องประชุมใสสว่าง ชั้น ๒ อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม  • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต ๘ / ระดับอำเภอ • ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบลและผู้แทนประชาชนในจำบล จาก ๕  พื้นที่เป้าหมายคือ           ๑.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๒. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๓. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๔. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร ๕. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร รวมจำนวน  ๒0 คน รายละเอียดการจัดกิจกรรม  คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล ๕ ตำบลเป้าหมาย  การประชุมประกอบด้วยการบรรยาย พูดคุยซักถามและฟังข้อเสนอแนะ  แนวทางการเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามทั้ง ๑o ประเด็น (ด้านอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุทางถนน สุขภาพจิต ขยะ สิ่งแวดล้อม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต ๘ / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการฯ    การเก็บข้อมูลตามแบบสำรวจและสามารถนำแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ในระดับรายบุคคล จำนวนตำบลละ ๒oo คน
รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ ๑oo ครัวเรือน และรายกองทุน จำนวนตำบลละ ๑ กองทุน
(จากการติดตามสอบถามและตรวจสอบในระบบ)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

3. คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 2)

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์    เพื่อชี้แจง ทำความเข้าใจร่วมกัน วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ การใชเ้ครื่องมือแบบสอบถามกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ 5 ตำบล (5 กองทุน) ใน 10 ประเด็น รวมถึงขั้นตอน กระบวนการทำงานทั้งในระบบออนไลน์และออนไซท์ การออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล 5 ตำบล (5 กองทุน) การแนะนำทีมงานพี่เลี้ยง ระดับอำเภอเมืองสกลนคร การแนะนำทีมงานผู้ปฎิบัติงานระดับพื้นที่ตำบล 5 ตำบล (ครั้งที่ 2) กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อท่ี 1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาล ชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ สถานที่จัดกิจกรรม/ประชุมณ    ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น 5 อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม  • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอ • ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบลและผู้แทนประชาชนในจำบล จาก 5  พื้นที่เป้าหมายเขตอำเภแเมืองสกลนคร จ.สกลนครคือ           1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม
2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง
4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน
5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
รวมจำนวน  34 คน รายละเอียดการจัดกิจกรรม  1. คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประชุมชีแ้จงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล  ตำบลเป้าหมาย การประชุมประกอบด้วยการบรรยาย พูดคุยซักถาม และฟังข้อเสนอแนะ  แนวทางการเก็บข้อมูลตามแบบสอบถามทั้ง 10 ประเด็น (ด้านอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุทางถนน สุขภาพจิต ขยะ สิ่งแวดล้อม) โดย ผศ.ดร. พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชีแ้จง ความเป็นมา วัตถุประสงค์ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ
2. ทีมงานระดับพืน้ที่ตำบลทั้ง 5 ตำบล/กองทุน นำเสนอผลการเก็บข้อมูลในเบื้องต้น  แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทำความเข้าใจแบบสอบถามและวางแผนในการเก็บข้อมูลในพืน้ที่ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1,ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต  / ระดับอำเภอ และทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือใน การเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผูเ้ข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการฯ สามารถ เก็บข้อมูลตามแบบสำรวจและสามารถนำแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้องในระดับรายบุคคล จำนวนตำบลละ 200+ คน  รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ 100+ ครัวเรือน และรายกองทุน จำนวนตำบลละ 1 กองทุน
2. ทีมพีเีลี้ยงฯ ติดตามเยี่ยมให้คำแนะนำและเสริมพลังในการลงพ้ืนที่ของทีมงานระดับพืน้ที่แต่ละตำบล  คาด ว่าการเก็บข้อมูลและการนำเข้าข้อมูลในระบบออนไลน์จะแล้วเสร็จตามกำหนดภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2566      3. ทีมพี่เลี้ยงฯ บริหารจัดการแบบสอบถาม โดยการปริ้นเอกสารใหก้ับทีมตำบลเพื่อลงไปเก็บข้อมูล แทนการ ใช้โทรศัพท์มือถือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว มชในการสอบถามและเก็บข้อมูล โดยหลังจากเก็บข้อมูลแล้ว ทีมงาน ตำบลจึงนำข้อมูลจากเอกสารที่ปริ้นเอ้าท์ มากรอกข้อมูลในระบบออนไลน์ต่อไป
4. ปัญหา อุปสรรค มีเพียงเล็กน้อย เช่น การคีย์ข้อมูลบางแผนงานที่ไปเกี่ยวข้องกับอายุของกลุ่มตัวอย่าง ที่ จะไม่มีขอ้มูลเนื่องจากอายุของกลุ่มตัวอย่างไม่ถึงเกณฑ์บางแผนงาน
5. ทีมงานพี่เลีย้งฯ ขอใหท้ีมงานตำบลเก็บข้อมูลในเชงิคุณภาพที่พบเห็ยระหว่างการลงพืน้ที่เก็บข้อมูล เช่น พบ เห็นการเผาตอซังข้าว พบเห็นการใช้สารเคมีฉีดพ่นพืชผัก รวมถึงการจดบ้านเลขที่ที่ไปสอบถามข้อมูล เผ่อือาจเป็น ประโยชน์ต่อการทำวิจัยต่อยอดเชิงลึกต่อไปในอนาคต

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

37 0

4. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 1)

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม…จัดประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจร่วมถึงเป้าหมายการดำเนินงานตามโครงการ และนำเสนอผลการเก็บข้อมูลในเบื้องต้นของทีมงานระดับพื้นที่ตำบล สถานที่จัดกิจกรรม/ประชุมณ    ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น 5 อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม  • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอ • ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบลและผู้แทนประชาชนในจำบล จาก 5  พื้นที่เป้าหมายเขตอำเภแเมืองสกลนคร จ.สกลนครคือ           1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม
2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง
4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน
5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง
รวมจำนวน  3ุ6 คน รายละเอียดการจัดกิจกรรม  คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โดย ดร.ปทมุทิพย์  ม่านโคกสงู หัวหน้าศูนย์ประสานสมัชชาสุขภาพฯ
- พี้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล แลกเปลี่ยนเรียนรู้สถานการณ์ปัญหา อปุสรรค การทำงานในพื้นที่  (AAR: After Action Review) นำเสนอผลการดำเนนิงานการเก็บข้อมูล ประกอบไปด้วย  (1) บริบทพื้นที่ชมุชน / หมู่บ้าน ที่เลือกเก็บข้อมูล                                    (2) สถานการณ์ปัญหา-อปุสรรค ที่พบขณะเก็บข้อมูล (3) การแก้ไขปัญหา-อปุสรรคที่พบขณะเก็บข้อมูล  (4) ผลการนำเข้าข้อมูลในระบบออนไลน์(การคีย์ข้อมูล)  โดย ทีมงานระดับตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการดำเนินโครงการฯ สามารถเก็บข้อมูลตามแบบสำรวจและสามารถนำแบบสอบถามไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ในระดับรายบุคคล จำนวนตำบลละ 200 คน รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ 200 ครัวเรือน และรายกองทุน จำนวนตำบลละ 1 กองทุน
-พี้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล สามารถเก็บข้อมูลและคีย์ข้อมูลเสร็จตามกำหนดเวลาภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2566  โดยใช้จุดแช็งของพื้นที่ผู้นำให้การสนับสนุน  ทีมงานเป็นคนในพื้นที่มีความคุ้นเคยกับชุมชนในการดำเนินงาน แบบสอบถามเข้าใจง่าย  ผลการดำเนินงานเก็บข้อมูล ดังนี้
        1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร รวม 330 ชุด  1  ชุมชน 2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร        รวม  300  ชุด  1 ชุมชน 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร            รวม  300  ชุด  1  ชุมชน 4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร                รวม  300  ชุด  1  ชุมชน 5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร  รวม  307  ชุด  1  ชุมชน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

5. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 2)

วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับต าบลและอ าเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชนประจ าปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสกลนคร เพื่อจัดประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจร่วมถึงเป้าหมายการดำเนินงานตามโครงการ และนำเสนอผลการเก็บข้อมูลในเบื้องต้นของทีมงานระดับพื้นที่ตำบล (กองทุนสุขภาพระดับตำบล) ณ ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น 5 อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร     1. คณะทำงานระดับอำเภอจัดประชุมการชี้แจงการใช้เครื่องมือเพื่อเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ชุมชน โดย         1.1 ตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ทุกประเด็นจากการสอบถามแบบสำรวจ         1.2 ตรวจสอบตัวชี้วัด 80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง           1.2.1 คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุน โดย ดร.ปทมุทิพย์ ม่านโคกสงู หัวหน้าศูนย์ประสานงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนคร           1.2.2 พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล ตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ทุกประเด็นจากการสอบถามแบบสำรวจและตรวจสอบตัวชี้วัด 80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผน กองทุนของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมงานพี่เลี้ยงระดับเขต 8 / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมผู้เข้าร่วมการประชุมมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดำเนินการตรวจสอบข้อมูลสถานการณ์ทุกประเด็นจากการ สอบถามแบบสำรวจ และตรวจสอบตัวชี้วัด 80 ตัวชั้วัดของกองทุนตนเอง สามารถคำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกประเด็นปัญหาเพื่อการจัดทำาแผนงาน โครงการ ของกองทุนสุขภาพระดับตำบลได้ต่อไป

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

6. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 3-7)

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม…จัดประชุมทบทวนตรวจสอบ 10  แผนงาน  80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง  คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด  เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุนตำบล วันที่ 10 พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง วันที่ 11 พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลท่าแร่ วันที่ 18 พฤษภาคม 2566  ณ ห้องประชุมสุขเกษม ชั้น ๕ อาคารสำนักงานเทศบาลนครสกลนคร วันที่ 19  พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลงิ้วด่อน วันที่ 26  พฤษภาคม 2566  ณ  ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลธาตุนาเวง ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม • ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต ๘
• ทีมงานระดับตำบล ได้แก่ แอดมินและผู้ช่วยแอดมินคีย์ข้อมูล เจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตำบล  พื้นที่เป้าหมายคือ           1.เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลนครสกลนคร ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร รวม 8 คน 2. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลท่าแร่ ต.ท่าแร่ อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร  รวม  6  คน 3. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลธาตุนาเวง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร            รวม 7  คน 4. เขตพื้นที่ปกครองของเทศบาลตำบลงิ้วด่อน อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร                รวม  9  คน 5. เขตพื้นที่ปกครองขององค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง อ.เมืองสกลนคร จ.สกลนคร  รวม  6  คน คณะทำงานจัดประชุมทบทวนตรวจสอบ 10  แผนงาน  80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง
-คำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด  เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุน โดย ดร.ปทมุทิพย์  ม่านโคกสงู หัวหน้าศูนย์ประสานสมัชชาสุขภาพฯ และทีมงาน -พิจารณาขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุนของตนเองให้มีความเชื่อมโยงของส่วนประกอบในการทำแผน (สถานการณ์  วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด  แนวทาง/วิธีการสำคัญ  งบประมาณ  โครงการที่ควรดำเนินการ  โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุน โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตาม) -ให้คำแนะนำและข้อคิดเห็นในการทำแผนกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ทีมงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดสกลนครระดับเขต 8 / ระดับอำเภอและทีมงานระดับตำบล ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมการจัดประชุมทบทวนตรวจสอบ 10  แผนงาน  80 ตัวชี้วัดของกองทุนตนเอง  ทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ พูดคุยแลกเปลี่ยนทำให้พื้นที่มีความเข้าใจในการคำนวณขนาดสถานการณ์ของประเด็นปัญหาแต่ละตัวชี้วัด  นำไปสู่การเลือกปัญหาเพื่อการทำแผนกองทุนตำบล

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

36 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : 1. มีการเก็บข้อมูลโดยแบบสำรวจประเด็นยุทธศาสตร์ด้าน อาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุทางถนน สุขภาพจิต ขยะ สิ่งแวดล้อม โดยแบ่งเป็น 1.1 รายบุคคล จำนวนตำบลละ 200+ คน 1.2 รายครัวเรือน จำนวนตำบลละ 100+ ครัวเรือน 1.3 รายกองทุน จำนวนตำบลละ 1 กองทุน 2. จัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ในโปรแกรมออนไลน์ อย่างน้อย 2 แผนงานต่อกองทุน (แผนปีงบประมาณ 2566 และปีงบประมาณ 2567) 3. พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะในโปรแกรมออนไลน์อย่างน้อย 2 โครงการต่อแผน (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน) 4. ได้รับอนุมัติงบระมาณจากกองทุน และมีการติดตาม ประเมินผลโครงการในโปรแกรมออนไลน์ (รวมอย่างน้อย 4 โครงการต่อกองทุน) กิจกรรมดำเนินการ 1. ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (พี่เลี้ยงระดับอำเภอ) (ครั้งที่ 1: เมื่อ 9 ธ.ค.65) เพื่อวางแผน เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (Action Plan) คัดเลือกพื้นที่ตำบลเป้าหมาย 2. คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล 5 ตำบลเป้าหมาย 3. เก็บข้อมูลระดับตำบลตามแบบสำรวจ พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล 4. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย / พื้นที่เป้าหมาย 5 ตำบล (รวม 4 ครั้ง) 4.1 ครั้งที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ 2566 4.2 ครั้งที่ 2 เดือน มีนาคม 2566 4.3 ครั้งที่ 3 เดือน มิถุนายน 2566 4.4 ครั้งที่ 4 เดือน กันยายน 2566 5. สรุปบทเรียนการดำเนินงานและวางแนวทางการพัฒนากองทุนตำบลเป้าหมาย 5 ตำบล
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 1) (2) ประชุมคณะทำงานระดับอำเภอ (ครั้งที่ 1) เพื่อวางแผน/เตรียมการดำเนินงานระดับอำเภอและตำบล (action plan) (3) คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 1) (4) คณะทำงานระดับอำเภอสัญจรเพื่อประชุมชี้แจงเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินโครงการ และออกแบบการเก็บข้อมูลระดับตำบล (ครั้งที่ 2) (5) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 2) (6) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ และผู้เสนอโครงการในเรื่องการจัดทำแผนงาน โครงการ การติดตาม ประเมินผล (ครั้งที่ 3-7)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 8 จังหวัด

รหัสโครงการ 65-P1-0205

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.ปทุมทิพย์ ม่านโคกสูง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด