แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
กองทุนศูนย์เรียนรู้ | 1 ต.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
กองทุนสมัครใจเข้าร่วม | 1 ต.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 | 23 ธ.ค. 2565 | 23 ธ.ค. 2565 |
|
1.ลงพื้นที่ชี้แจงทำความเข้าใจกับพื้นที่ 2.ประสานงานคณะกรรมกองทุนพื้นที่ระดับตำบลเพื่อเข้าประชุม 3.จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนพื้นที่กองทุนศูนย์เรียนรู้ |
|
|
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการและเก็บข้อมูลพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ 12 แห่ง | 20 ม.ค. 2566 | 20 ม.ค. 2566 |
|
1.การชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ |
|
1.ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนพื้นที่ตำบล จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์สุขภาพทั้ง 10 ประเด็น 2.เกิดการแลกเปลี่ยนบทเรียน นวัตกรรมโครงการที่แต่ละพื้นที่ดำเนินการ เพื่อนำไปประยุกต์การเขียนแผนงานโครงการด้านสุขภาพ 3.ตัวแทนคณะกรรมการทุนพื้นที่ตำบลและทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอมีความรู้ในด้านการใช้โปรแกรมกองทุนตำบลในการเก็บข้อมูลสถานการณ์พื้นที่ |
|
การลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอและพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ 12 แห่ง | 8 ก.พ. 2566 | 8 ก.พ. 2566 |
|
1.การชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ |
|
1.ลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ จำนวน 50 คน ในการผลักดันให้เกิดศูนย์เรียนรู้กองทุนสุขภาพ จากเป้าหมายเดิม 12 แห่ง เป็น 17 แห่ง
2.มีการแลกเปลี่ยนบทเรียน และข้อมูลสถานการณ์ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ เพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนงานกองทุนร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการและเก็บข้อมูลพื้นที่กองทุนขยายผล 10 แห่ง | 10 ก.พ. 2566 | 10 ก.พ. 2566 |
|
1.การชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ |
|
1.ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนพื้นที่ตำบล จำนวน 50 คน จากทั้งหมด 10 กองทุนขยายผลมีความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์สุขภาพทั้ง 10 ประเด็น
2.เกิดการแลกเปลี่ยนบทเรียน นวัตกรรมโครงการที่แต่ละพื้นที่ดำเนินการ เพื่อนำไปประยุกต์การเขียนแผนงานโครงการด้านสุขภาพ
3.ตัวแทนคณะกรรมการทุนพื้นที่ตำบลขยายผลทั้ง 10 แห่งและทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอมีความรู้ในด้านการใช้โปรแกรมกองทุนตำบลในการเก็บข้อมูลสถานการณ์พื้นที่ |
|
ารประชุมทบทวนแผนขับเคลื่อนและยกระดับกองทุนตำบลศูนย์เรียนรู้ | 10 มิ.ย. 2566 | 10 มิ.ย. 2566 |
|
1.การสรุปปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานที่ผ่านมา |
|
1.ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประชุมวางแผนการขับเคลื่อนร่วมกับคณะกรรมการ พชอ. และกรอกข้อมูลแผนงานโครงการเข้าระบบ | 7 พ.ย. 2566 | 7 พ.ย. 2566 |
|
1.การนำเสนอข้อมูลสถานการณ์พื้นที่กองทุนกับคณะกรรมการกลไก พชอ.อำเภอสมเด็จ |
|
1.คณะกรรมการกลไก พอช. ได้ทราบข้อมูลสถานการณ์จากพื้นที่ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลในระบบกองทุนตำบล 2.เกิดการขับเคลื่อนเชิงประเด็นร่วมกันโดยบูรณาการกับประเด็น พชอ. ในประเด็น อุบัติเหตุ การจัดการขยะ และกิจกรรมทางกาย |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อประชุมวางแผนการขับเคลื่อนร่วมกับคณะกรรมการ พชอ. และกรอกข้อมูลแผนงานโครงการเข้าระบบ | 8 พ.ย. 2566 | 8 พ.ย. 2566 |
|
1.การนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพื้นที่ ผ่านระบบกองทุน และการใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลกองทุนตำบล 2.วางแนวทางการขับเคลื่อนร่วมกันกับกลไก พชอ. ในการใช้ข้อมูลระบบกองทุนบูรณาการขับเคลื่อนกับกลไก พชอ. ในพื้นที่ |
|
คณะกรรมการกลไก พชอ. รับทราบข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่ และนำประเด็นข้อมูลสถานการณ์ปัญหาเข้าสู่การขับเคลื่อนร่วมกับกลไก พชอ. ใน 3 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นด้านการจัดการขยะ กิจกรรมทางกาย โภชนาการในเด็ก และสุขภาพจิต |
|
สนับสนุนพื้นที่จัดเวทีพัฒนาโครงการ ขับเคลื่อนโครงการเข้าสู่แผนกองทุนสุขภาพ ปี 67 | 8 พ.ย. 2566 | 8 พ.ย. 2566 |
|
จัดเวทีพัฒนาโครงการ ขับเคลื่อนโครงการเข้าสู่แผนกองทุนสุขภาพ ปี 67 กับกองทุนศูนย์เรียนรู้ จำนวน 12 แห่ง และกองทุนขยายผล 10 แห่ง |
|
เกิดแผนงาน/โครงการ ที่ได้รับการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมในพื้นที่กองทุนศูนย์เรียนรู้ อย่างน้อย 7-10 โครงการ ที่จะเสนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุนตำบล |
|
สนับสนุนพื้นที่จัดเวทีพัฒนาโครงการ ขับเคลื่อนโครงการเข้าสู่แผนกองทุนสุขภาพ ปี 67 | 9 พ.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
จัดประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนการเงินและรายงานผลโครงการศูนย์เรียนรู้ | 9 ม.ค. 2567 | 9 ม.ค. 2567 |
|
1.การติดตามผลการจัดเวทีพัฒนาแผนงาน/โครงการ แผนการเงินและรายงานผลโครงการศูนย์เรียนรู้ที่แต่ละแห่งดำเนินการ 2.อบรมการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนการเงินเข้าระบบ 3.สะท้อนข้อมูลปัญหาการกรอกข้อมูลในระบบ 4.วางแผนการดำเนินงานในพื้นที่ร่วมกัน |
|
ผลผลิต 1.เจ้าหน้าที่ในกองทุนศูนย์เรียนรู้มีความเข้าใจในการใช้ระบบ การเชื่อมโยงข้อมูลสถานการณ์ ค่าเป้าหมาย กับการจัดทำแผนงาน/โครงการ 2.เกิดแผนงาน/โครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพ อย่างน้อย 7-10 กองทุน ผลลัพธ์ เจ้าหน้าที่กองทุนนำข้อมูลสถานการณ์ไปใช้ในการกำหนดประเด็นการขับเคลื่อนร่วมกันกับกลไก พชอ. |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนการเงินและรายงานผลโครงการ กองทุนขยายผล | 16 ม.ค. 2567 | 16 ม.ค. 2567 |
|
1.ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพัฒนาแผนงาน/โครงการ เข้าสู่กองทุนตำบล ปี 2567 2.สะท้อนผลการใช้ระบบข้อมูลเพื่อการวางแผนงาน/โครงการ 3.อบรมให้ความรู้การสร้างแผนงาน/โครงการ แผนการเงิน และรายงานผลโครงการในระบบ 4.วางแผนการขับเคลื่อนร่วมกับกลไก พชอ. |
|
ผลผลิต
1.เกิดการพัฒนาแผนงาน/โครงการ แผนการเงิน อย่างน้อยกองทุนละ 3 โครงการ เข้าสู่ระบบ
2.เกิดการนำข้อมูลสถานการณ์ ไปสู่การวางแผนการดำเนินงานโครงการกองทุนอย่างเป็นระบบ ผลลัพธ์ การนำข้อมูลสถานการณ์ไปสู่การวางแผนการดำเนินงานกองทุนตำบลในปี 2567 โดยบูรณาการร่วมกับกลไก พชอ.อำเภอสมเด็จ |
|
ประชุมติดตามการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนงานการเงินเข้าระบบ | 28 ก.พ. 2567 | 28 ก.พ. 2567 |
|
1.ติดตามการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนการเงินเข้าระบบกองทุนตำบลในพื้นที่กองทุนศูนย์เรียนรู้ 2.สะท้อนปัญหาอุปสรรค การใช้ระบบข้อมูล และข้อเสนอแนะ 3.วางแผนการบูรณาการกลไก พชอ. เพื่อให้ได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย และออกแบบงานมหกรรมสุขภาวะในพื้นที่ |
|
1.กองทุนศูนย์เรียนรู้มีการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ เข้าระบบกองทุน จากจำนวน 17 แห่ง รวมโครงการทั้งสิ้น 132 โครงการ (เป็นโครงการในแผนงานกิจกรรมทางกาย การจัดการขยะ โภชนาการ) 2.แนวทางการบูรณาการกับกลไก พชอ.อำเภอคำม่วง โดยบูรณาการร่วมกันในมหกรรมสุขภาวะอำเภอ เดือน เมษายน 2567 โดยจัดให้มีห้องย่อยในการระดมเพื่อหาข้อเสนอเชิงนโยบายในการบูรณาการร่วมกันระหว่างระบบข้อมูล กลไก พชอ. และกองทุนตำบล |
|
ประชุมติดตามการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนงานการเงินเข้าระบบ กองทุนขยายผล | 29 ก.พ. 2567 | 29 ก.พ. 2567 |
|
ติดตามการกรอกข้อมูลแผนงาน/โครงการ แผนการเงิน เข้าระบบกองทุนขยายผล อย่างน้อยกองทุนละ 3 โครงการ ที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุนตำบล |
|
กองทุนขยายผลดำเนินการกรอกข้อมูล แผนงาน/โครงการ แผนการเงิน เข้าระบบกองทุน จำนวน 15 โครงการ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายร่วมกับกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) | 23 เม.ย. 2567 | 23 เม.ย. 2567 |
|
1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับตัวแทนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2 แห่ง |
|
1.ข้อมูลความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค การพัฒนาแผนงาน/โครงการในระบบ |
|
เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพกองทุนศูนย์เรียนรู้ | 1 มิ.ย. 2567 | 1 มิ.ย. 2567 |
|
1.ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่กองทุน |
|
ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลสถานการณ์สุขภาพทั้ง 22 แห่ง พบว่า สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลและกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบเว็บไซต์ได้ทั้ง 22 แห่ง ที่กระจายครอบคลุมตามสัดส่วนกลุ่มอายุตามเป้าหมาย
ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะจากการเก็บข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่ |
|
เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพกองทุนขยายผล | 1 มิ.ย. 2567 | 1 มิ.ย. 2567 |
|
1.ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่กองทุน |
|
ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลสถานการณ์สุขภาพทั้ง 5 แห่ง พบว่า สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลและกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบเว็บไซต์ได้ทั้ง 5 แห่ง ที่กระจายครอบคลุมตามสัดส่วนกลุ่มอายุตามเป้าหมาย
ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะจากการเก็บข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่ |
|
ประชุมสรุปบทเรียน และประเมินคุณค่าโครงการในระบบเว็บไซต์กองทุนตำบล | 9 ก.ค. 2567 | 9 ก.ค. 2567 |
|
1.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
|
1.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
|
ประชุมสรุปบทเรียน และประเมินคุณค่าโครงการในระบบเว็บไซต์กองทุนตำบล (กองทุนขยายผล) | 16 ก.ค. 2567 | 16 ก.ค. 2567 |
|
1.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานโครงการ |
|
ผลประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ |
|