สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

งานบริหารกลาง โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) จำนวน 80 กองทุน (อย่างน้อย 5 อำเภอ)
80.00

 

 

 

2 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้มีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ รวมอย่างน้อย 500 โครงการ
500.00

 

 

 

3 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาทลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนฯ รวม 130 คน
130.00

 

 

 

4 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : ขยายผลไปยังกองทุนฯ อื่นโดยความสมัครใจ จำนวน 100 กองทุน
100.00

 

 

 

5 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : กองทุนขยายผลมีแผนงานอย่างน้อย 1-2 แผนงานต่อกองทุน และมีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ รวมอย่างน้อย 150 โครงการ
150.00

 

 

 

6 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : ได้คู่มือการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต จำนวน 8 ชุด
8.00

 

 

 

7 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : ได้ website ระบบการจัดการบริหารกองทุนฯ ที่ใช้ในการพัฒนาแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตาม ประเมินผลโครงการ ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต จำนวน 1 ระบบ
1.00

 

 

 

8 1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด : ได้รูปแบบการบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ อย่างน้อย 5 อำเภอ
5.00

 

 

 

9 1. ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) จำนวน 80 กองทุน (อย่างน้อย 5 อำเภอ)
ตัวชี้วัด : ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และได้ข้อเสนอเชิงนโยบายในการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
0.00