แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ Matching Model สาวอ ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ทีมงาน u2t ตำบลสาวอ
ชื่อโครงการ Matching Model สาวอ
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"Matching Model สาวอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
Matching Model สาวอ
บทคัดย่อ
โครงการ " Matching Model สาวอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการตลาดสีเขียวชุมชนlสาวอ (Greenmatket)
- ประชุมเตรียมความพร้อมเปิดตลาดสีเขียว
- ทดลองเปิดตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดสีเขียวที่จะเปิดตลาดในพื้นที่ตำบลสาวอ
- อบรมทำความเข้าใจเกี่ยวกับตลาดสีเขียวให้กับเกษตรกรในตำบลสาวอ
- แลกเปลี่ยนรูปแบบการจัดการตลาด มหกรรมศิลปวัฒนธรรม สืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระพันปีหลวง
- ประชุมถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมเตรียมความพร้อมเปิดตลาดสีเขียว
วันที่ 2 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
หัวข้อ ประชุมชี้แจง เรื่องรูปแบบตลาด ปรึกษาหารือ ถามความเห็น เรื่อง แนวทางการจัดการรูปแบบตลาด และสถานที่ ร่วมกับผู้นำท้องถิ่น
วันที่ 2 สิงหาคม 2565
08.30-09.00 ลงทะเบียน
09.00-10.15 รายงานตัว ชี้แจงการดำเนินงานกิจกรรมตลาดสีเขียว
10.15-10.30 พักเบรก
10.30-11.30 ระดมความคิดเห็นแนวทางการจัดกิจกรรมตลาดสีเขียว
11.30-12.00 แสดงความคิดเห็น สรุปและปิดการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อสรุปจากการประชุม เรื่อง การเปิดตลาดใหม่
-ไม่สามารถจัดออกมาได้ เนื่องจากไม่เหมาะต่อบริบทในพื้นที่ และด้วยความน้อยประสบการณ์ของทีมงานในการเข้าถึงการประชาสัมพันธ์ รวมถึงค่านิยมในพื้นที่
ข้อแนะนำในที่ประชุม
-เปิดแผงผักสดในตลาดที่มีอยู่ในพื้นที่
-ตั้งหน้าร้านของร้านค้าในชุมชน
-ดูผลตอบรับและการรับรู้เรื่องผักปลอดภัยและจัดกิจกรรม มหกรรม
12
0
2. ทดลองเปิดตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดสีเขียวที่จะเปิดตลาดในพื้นที่ตำบลสาวอ
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทดลองเปิดตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดสีเขียวที่จะเปิดตลาดในพื้นที่ตำบลสาวอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการทดลองเปิดตลาด
-ผักกรีนโอ๊คและสะตอมีผลผลิตไม่พอต่อความต้องการของตลาด
ข้อเสนอแนะ
-ประชาชนให้ความสนใจในรูปแบบขอลการขายผักปลอดภัยในท้องถิ่น
-ผู้บริโภคให้ความเห็นในเรื่องของการเปิดหน้าร้านในตลาดของชุมชน
20
0
3. อบรมทำความเข้าใจเกี่ยวกับตลาดสีเขียวให้กับเกษตรกรในตำบลสาวอ
วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงรูปแบบตลาด/ทำความเข้าใจ/ทำความรู้จัก/Q&A/แบ่งกลุ่มเพื่อแบ่งโซนการทำงานและการผลิต
ผู้เข้าร่วมอบรม
-เกษตรกร จำนวน 64 คน -เยาวชน จำนวน 6 คน -เจ้าหน้าที่ อบต.จำนวน 7 คน
-ผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน -ทีมงาน U2Tจำนวน 8 คน -ผู้นำศาสนาจำนวน 2 คน
รวมทั้งหมด 90 คน
กำหนดการอบรม
08.30-09.00 น ลงทะเบียน
09.00-09.30 น เปิดพิธีโดย รองนายก นายมักตา สาและ
09.30-10.15 น ทำความรู้จักตลาดสีเขียว ชี้แจงวัตถุประสงค์ โดยทีมงาน นายอิสมาแอ ซามะ
10.15-10.30 น พักเบรก
10.30-12.00 น แนะนำตัวเกษตรกร ชนิดของผลิตผลทางการเกษตร
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-13.30 น ชี้แจงรูปแบบการจัดการตลาดสีเขียว
13.30-14.30 น ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการรูปแบบตลาด
14.30-14.45 น พักเบรก
14.45-15.30 น แบ่งกลุ่ม วางแผนงานในการจัดพื้นที่การเกษตร และการเก็บผลผลิต
15.30-16.00 น สรุปและปิดการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อเสนอแนะในที่ประชุม
-หาพ่อค้าคนกลางรายใหญ่ -การจัดหาตลาด -เพิ่มการโปรโหมดให้หลากหลาย
-ออกบูธเพื่อกระตุ้นยอดขายและการประชาสัมพันธ์เพื่อให้คนรู้จัก
-จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรให้เป็นทางการ -สร้างมาตรฐาน GMP
-การประสานงานต้องมีความชัดเจนทุกครั้ง
สรุปการอบรม
เกษตรกรเห็นด้วยกับการเปิดตลาดสีเขียวและยินดีที่จะมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือกับการเปิดตลาดครั้งนี้ เพื่อเป็นการกระจายผลผลิตของเกษตรกรและเป็นการสร้างรายได้เพิ่มมากขึ้น
90
0
4. แลกเปลี่ยนรูปแบบการจัดการตลาด มหกรรมศิลปวัฒนธรรม สืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระพันปีหลวง
วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รูปแบบกิจกรรม
ศึกษาดูงานเกี่ยวกับลักษณะการเปิดตลาด การจัดระเบียบ การจัดหาพื้นที่ทำเล การออกแบบหน้าร้าน โปรโมชั่น การสร้างจุดเด่น เรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค และการสร้างบริการที่ดีให้แก่ลูกค้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการแลกเปลี่ยน
1.ได้เรียนรู้รูปแบบการจัดตลาดที่หลากหลาย น่าสนใจ นำสิ่งที่เป็นแรงจูงใจเพื่อให้ผู้คนมาเที่ยวชมตลาดของเรา
2.การแยกร้านค้าออกเป็นย่อยๆตามหน่วยงานและองค์กร เช่น สโมสรนักศึกษากับชมรม หน่วยงานภาครัฐกับร้านค้าชุมชน และเรื่องการจัดการระบบความปลอดภัยแยกเป็นต่างหากบริเวณจุดเข้างานทุกประตู
3.วิธีการสร้างจุดเด่นให้กับร้านค้าตลาดของแต่ละร้านที่ที่หลากหลาย เช่น การแต่งกายที่เชื่อมโยงกับสินค้า และการจัดตกแต่งหน้าร้านที่ดึงดูดและสะดุดตามองเห็นชัดเจน
4.ได้เรียนรู้พฤติกรรมของผู้บริโภคและทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของเรา ผู้บริโภคมองว่า ผลผลิตทางการเกษตรที่มาจากท้องถิ่นหายาก และควรส่งเสริมให้เกิดการค้าขายผลผลิตมากยิ่งขึ้น
8
0
5. ประชุมถอดบทเรียน
วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รูปแบบกิจกรรม
-แลกเปลี่ยนเรื่องผลผลิตที่จะขายในระยะยาว และช่วงเวลาของผลผลิตที่สามารถขายได้
-จากการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายเกษตรกรในการเปิดตลาดสีเขียวในครั้งนี้ คุณมีความคิดเห็นอย่างไรหรือจะเสนอแนะอะไรบ้าง?
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลที่ผ่านมา
ประชาชนมีความสนใจผลิตภัณฑ์ที่เราขาย มีการเข้ามาสอบถามอยู่เรื่อยๆ แต่สินค้าของเราไม่มีเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า แต่บางช่วงเวลาสินค้าก็ล้นตลาด ทำให้เกิดความเสียหาย จึงมีผลทำให้ผลผลิตของเราไม่มีแบบต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ
1.ต้องพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรถึงประเภทของผลผลิต โดยการจัดตั้งกลุ่มแบบแบ่งประเภทของผู้ผลิต
2.ต้องหาเกษตรกรที่เป็นเกษตรกรแบบรายย่อยที่สามารถเพาะปลูกผักหลายราย หลายประเภท
3.หาตลาดที่สามารถรองรับผลผลิตที่มีจำนวนมาก
8
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
Matching Model สาวอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ทีมงาน u2t ตำบลสาวอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ Matching Model สาวอ ”
ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสหัวหน้าโครงการ
ทีมงาน u2t ตำบลสาวอ
ชื่อโครงการ Matching Model สาวอ
ที่อยู่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"Matching Model สาวอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
Matching Model สาวอ
บทคัดย่อ
โครงการ " Matching Model สาวอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการตลาดสีเขียวชุมชนlสาวอ (Greenmatket)
- ประชุมเตรียมความพร้อมเปิดตลาดสีเขียว
- ทดลองเปิดตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดสีเขียวที่จะเปิดตลาดในพื้นที่ตำบลสาวอ
- อบรมทำความเข้าใจเกี่ยวกับตลาดสีเขียวให้กับเกษตรกรในตำบลสาวอ
- แลกเปลี่ยนรูปแบบการจัดการตลาด มหกรรมศิลปวัฒนธรรม สืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระพันปีหลวง
- ประชุมถอดบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมเตรียมความพร้อมเปิดตลาดสีเขียว |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำหัวข้อ ประชุมชี้แจง เรื่องรูปแบบตลาด ปรึกษาหารือ ถามความเห็น เรื่อง แนวทางการจัดการรูปแบบตลาด และสถานที่ ร่วมกับผู้นำท้องถิ่น วันที่ 2 สิงหาคม 2565 08.30-09.00 ลงทะเบียน 09.00-10.15 รายงานตัว ชี้แจงการดำเนินงานกิจกรรมตลาดสีเขียว 10.15-10.30 พักเบรก 10.30-11.30 ระดมความคิดเห็นแนวทางการจัดกิจกรรมตลาดสีเขียว 11.30-12.00 แสดงความคิดเห็น สรุปและปิดการประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อสรุปจากการประชุม เรื่อง การเปิดตลาดใหม่
-ไม่สามารถจัดออกมาได้ เนื่องจากไม่เหมาะต่อบริบทในพื้นที่ และด้วยความน้อยประสบการณ์ของทีมงานในการเข้าถึงการประชาสัมพันธ์ รวมถึงค่านิยมในพื้นที่
ข้อแนะนำในที่ประชุม
-เปิดแผงผักสดในตลาดที่มีอยู่ในพื้นที่
|
12 | 0 |
2. ทดลองเปิดตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดสีเขียวที่จะเปิดตลาดในพื้นที่ตำบลสาวอ |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทดลองเปิดตลาดเพื่อการประชาสัมพันธ์ตลาดสีเขียวที่จะเปิดตลาดในพื้นที่ตำบลสาวอ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการทดลองเปิดตลาด -ผักกรีนโอ๊คและสะตอมีผลผลิตไม่พอต่อความต้องการของตลาด ข้อเสนอแนะ -ประชาชนให้ความสนใจในรูปแบบขอลการขายผักปลอดภัยในท้องถิ่น -ผู้บริโภคให้ความเห็นในเรื่องของการเปิดหน้าร้านในตลาดของชุมชน
|
20 | 0 |
3. อบรมทำความเข้าใจเกี่ยวกับตลาดสีเขียวให้กับเกษตรกรในตำบลสาวอ |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำชี้แจงรูปแบบตลาด/ทำความเข้าใจ/ทำความรู้จัก/Q&A/แบ่งกลุ่มเพื่อแบ่งโซนการทำงานและการผลิต ผู้เข้าร่วมอบรม -เกษตรกร จำนวน 64 คน -เยาวชน จำนวน 6 คน -เจ้าหน้าที่ อบต.จำนวน 7 คน -ผู้ใหญ่บ้านจำนวน 3 คน -ทีมงาน U2Tจำนวน 8 คน -ผู้นำศาสนาจำนวน 2 คน รวมทั้งหมด 90 คน กำหนดการอบรม 08.30-09.00 น ลงทะเบียน
09.00-09.30 น เปิดพิธีโดย รองนายก นายมักตา สาและ
09.30-10.15 น ทำความรู้จักตลาดสีเขียว ชี้แจงวัตถุประสงค์ โดยทีมงาน นายอิสมาแอ ซามะ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อเสนอแนะในที่ประชุม -หาพ่อค้าคนกลางรายใหญ่ -การจัดหาตลาด -เพิ่มการโปรโหมดให้หลากหลาย -ออกบูธเพื่อกระตุ้นยอดขายและการประชาสัมพันธ์เพื่อให้คนรู้จัก -จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรให้เป็นทางการ -สร้างมาตรฐาน GMP -การประสานงานต้องมีความชัดเจนทุกครั้ง สรุปการอบรม เกษตรกรเห็นด้วยกับการเปิดตลาดสีเขียวและยินดีที่จะมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือกับการเปิดตลาดครั้งนี้ เพื่อเป็นการกระจายผลผลิตของเกษตรกรและเป็นการสร้างรายได้เพิ่มมากขึ้น
|
90 | 0 |
4. แลกเปลี่ยนรูปแบบการจัดการตลาด มหกรรมศิลปวัฒนธรรม สืบสานพระราชปณิธาน สมเด็จพระพันปีหลวง |
||
วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรูปแบบกิจกรรม ศึกษาดูงานเกี่ยวกับลักษณะการเปิดตลาด การจัดระเบียบ การจัดหาพื้นที่ทำเล การออกแบบหน้าร้าน โปรโมชั่น การสร้างจุดเด่น เรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค และการสร้างบริการที่ดีให้แก่ลูกค้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการแลกเปลี่ยน 1.ได้เรียนรู้รูปแบบการจัดตลาดที่หลากหลาย น่าสนใจ นำสิ่งที่เป็นแรงจูงใจเพื่อให้ผู้คนมาเที่ยวชมตลาดของเรา 2.การแยกร้านค้าออกเป็นย่อยๆตามหน่วยงานและองค์กร เช่น สโมสรนักศึกษากับชมรม หน่วยงานภาครัฐกับร้านค้าชุมชน และเรื่องการจัดการระบบความปลอดภัยแยกเป็นต่างหากบริเวณจุดเข้างานทุกประตู 3.วิธีการสร้างจุดเด่นให้กับร้านค้าตลาดของแต่ละร้านที่ที่หลากหลาย เช่น การแต่งกายที่เชื่อมโยงกับสินค้า และการจัดตกแต่งหน้าร้านที่ดึงดูดและสะดุดตามองเห็นชัดเจน 4.ได้เรียนรู้พฤติกรรมของผู้บริโภคและทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ของเรา ผู้บริโภคมองว่า ผลผลิตทางการเกษตรที่มาจากท้องถิ่นหายาก และควรส่งเสริมให้เกิดการค้าขายผลผลิตมากยิ่งขึ้น
|
8 | 0 |
5. ประชุมถอดบทเรียน |
||
วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรูปแบบกิจกรรม -แลกเปลี่ยนเรื่องผลผลิตที่จะขายในระยะยาว และช่วงเวลาของผลผลิตที่สามารถขายได้ -จากการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายเกษตรกรในการเปิดตลาดสีเขียวในครั้งนี้ คุณมีความคิดเห็นอย่างไรหรือจะเสนอแนะอะไรบ้าง? ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลที่ผ่านมา ประชาชนมีความสนใจผลิตภัณฑ์ที่เราขาย มีการเข้ามาสอบถามอยู่เรื่อยๆ แต่สินค้าของเราไม่มีเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า แต่บางช่วงเวลาสินค้าก็ล้นตลาด ทำให้เกิดความเสียหาย จึงมีผลทำให้ผลผลิตของเราไม่มีแบบต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ 1.ต้องพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเกษตรกรถึงประเภทของผลผลิต โดยการจัดตั้งกลุ่มแบบแบ่งประเภทของผู้ผลิต 2.ต้องหาเกษตรกรที่เป็นเกษตรกรแบบรายย่อยที่สามารถเพาะปลูกผักหลายราย หลายประเภท 3.หาตลาดที่สามารถรองรับผลผลิตที่มีจำนวนมาก
|
8 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
Matching Model สาวอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ทีมงาน u2t ตำบลสาวอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......