แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ Matching Model โคกสะตอ ”
ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ Matching Model โคกสะตอ
ที่อยู่ ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"Matching Model โคกสะตอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
Matching Model โคกสะตอ
บทคัดย่อ
โครงการ " Matching Model โคกสะตอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมวางแผนร่วมกับตัวแทนเยาวชนอีงะกำปง
- การจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจำหน่ายผักปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา
- การจัดประชุมวางแผนหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต.
- ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา
- ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทั่วไป
- ได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป
- ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย
- ได้จัดอบรมศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดประชุมวางแผนร่วมกับตัวแทนเยาวชนอีงะกำปง
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ ร่วมกับตัวแทนเยาวชน อีงะกำปง ตำบลโคกสะตอ โดยภายใต้โครงการ การพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 ณ ศูนย์เยาวชนอีงะกำปง ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 9 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเยาวชน จำนวน 5 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตลาดเคลื่อนที่ สรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการนำเสนอ หาตัวแทนคนขับโชเลย์ 3 ล้อ ในพื้นที่ตำบลโคกสะตอ และได้ชี้แจงแนวทางต่าง ในการสร้างตลาด โดยตั้งเป้าหมายการจัดประชุมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตจำนวน 30 รายและพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ขายจำนวน 30 ราย เพื่อให้ความรู้ทางการเกษตรกร และทักษะในด้การขาย และ ซึ่งในที่ประชุมผู้แทนเยาวชน ดำเนินกิจกรรมเรื่องการจัดการตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ เพราะเกษตรกรมีความถนัดเรื่องผลิตอย่างเดียว ไม่ถนัดเรื่องการขาย หากมีหน่วยงานมาช่วยจัดการระบบตลาดจะเป็นผลดีต่อเกษตรกร
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือตัวแทนทีมเยาวชนอีงะ ตำบลโคกสะตอ และ ตัวแทนทีมงาน ได้คัดเลือกเป้าหมายเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการฯ ซึ่งต่อมา ทางทีมงานได้รวมรวบรายชื่อเกษตรกรผู้ผิต รวมจำนวน 11 คน แยกเป็นเกษตรกรทุ่งกูนาจำนวน 5 คน และเป็นเกษตรกรทั่วไป จำนวน 6 คน หมายเหตุ พื้นที่ตำบลโคกสะตอใหญ่ทำสวนยางพาราเป็นหลัก พื้นที่ทำทำเกษตรค่อนข้างน้อย ดังนั้นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจึงเป็นเกษตรกรชาวสวนยางพารา
0
0
2. การจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจำหน่ายผักปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจำหน่ายผักปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ณ บ้านไอร์กลูแป หมู่ 2 ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 7 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทุ่งกุนา จำนวน 3 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการนำเสนอ นำผลผลิตมาจำหน่าย บนโชเล่ย์ 3 ล้อ ในพื้นที่ตำบลโคก
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือตัวแทนเกษตรกรทุ่งกูนา ตำบลโคกสะตอ จัดหาผลผลิตมาจำหน่ายบนโชเลย์ 3 ล้อ
0
0
3. การจัดประชุมวางแผนหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต.
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดประชุมวางแผนหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต.เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ณ อบต.โคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 8 คน ประกอบไปด้วย เจ้าหน้าที่ อบต. จำนวน 4 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
สรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการนำเสนอ นำผลผลิตมาจำหน่าย บนโชเล่ย์ 3 ล้อ ในพื้นที่ตำบลโคก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือทางเจ้าหน้าที่ อบต. ตำบลโคกสะตอ อำนวยความสะดวกสำหรับการสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ
0
0
4. ได้จัดอบรมศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิต
วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้จัดอบรมศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิต การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 18 สิงหาคม 2565 ณ อบต.โคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 31 คน ประกอบไปด้วย วิทยากร 1 คน คือ นายสุวรรร เปาะซา ผู้สอนภาควิชาการเกษตรจากโรงเรียนนราธิวาส เจ้าหน้าที่ อบต. จำนวน 6 คน เกษตรกรทั่วไป จำนวน 24 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการประชุม ได้จัดอบรมเกษตรกรผู้ผลิต การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ในพื้นที่ตำบลโคก เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตมากขึ้น
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือทางเกษตรการในตำบลโคกสะตอ จัดหาผลผลิตมาจำหน่าย บนโชเลย์ 3 ล้อ
0
0
5. ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา
วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน เพื่อติดตาม ลงสำรวจผลผลิตของกลุ่มท่งกูนา ตำบลโคกสะตอ วันที่ 8 กันยายน 2565 ณ บ้านไอร์กลูแป หมู่ 2 ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 9 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทุ่งกุนา จำนวน 5 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการชี้แจงรายละเอียด การลงติดตามประเมินผล
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือตัวแทนเกษตรกรทุ่งกูนา ตำบลโคกสะตอดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
0
0
6. ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทั่วไป
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทั่วไป ตำบลโคกสะตอ ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน เพื่อติดตาม ลงสำรวจผลผลิตของกลุ่มเกษตรกรทั่วไป ตำบลโคกสะตอ วันที่ 11 กันยายน 2565 ณ แปลงเกษตรกรทั่วไป หมู่ 4 และหมู่ 6 ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 9 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทั่วไป จำนวน 5 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการชี้แจงรายละเอียด การลงติดตามประเมินผล
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือตัวแทนเกษตรกรทั่วไป ตำบลโคกสะตอดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
0
0
7. ได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป
วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน ชี้แจงรายละเอียดความคืบหน้าในการสั่งซื้อผลลิตระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย เพื่อติดตาม ลงสำรวจความคืบหน้าทาง ระบบไลน์ วันที่ 29 กันยายน 2565 ณ กลุ่มสตรีวิสหกิจชุมชนบ้านซอแดะ หมู่ 5 ตำบลโคก ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 10คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทั่วไป จำนวน 6 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน ชี้แจงรายละเอียดความคืบหน้าในการสั่งซื้อผลลิตระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย เพื่อติดตาม ลงสำรวจความคืบหน้าทาง ระบบไลน์ วันที่ 29 กันยายน 2565 ณ กลุ่มสตรีวิสหกิจชุมชนบ้านซอแดะ หมู่ 5 ตำบลโคก ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 10คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทั่วไป จำนวน 6 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
0
0
8. ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย
วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 29 กันยายน 2565 ณ อบต.โคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 22 คน ประกอบไปด้วย วิทยากร 1 คน คือ นางสาวพารียา สือแม แม่ค้าออนไลน์ เจ้าหน้าที่ เกษตรกรทั่วไป จำนวน 15 คน ผู้ขาย จำนวน 2 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการประชุม ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ในพื้นที่ตำบลโคก เพื่อเพิ่มศักยภาพผู้ขายให้มากขึ้น
มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือทางผู้ประกอบการ นำองค์ความรู้ที่ได้ในการจัดอบรมมาใช้ในการขายให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
Matching Model โคกสะตอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ Matching Model โคกสะตอ ”
ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาสหัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ Matching Model โคกสะตอ
ที่อยู่ ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"Matching Model โคกสะตอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
Matching Model โคกสะตอ
บทคัดย่อ
โครงการ " Matching Model โคกสะตอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะตอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมวางแผนร่วมกับตัวแทนเยาวชนอีงะกำปง
- การจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจำหน่ายผักปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา
- การจัดประชุมวางแผนหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต.
- ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา
- ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทั่วไป
- ได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป
- ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย
- ได้จัดอบรมศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดประชุมวางแผนร่วมกับตัวแทนเยาวชนอีงะกำปง |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ ร่วมกับตัวแทนเยาวชน อีงะกำปง ตำบลโคกสะตอ โดยภายใต้โครงการ การพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 ณ ศูนย์เยาวชนอีงะกำปง ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 9 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเยาวชน จำนวน 5 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตลาดเคลื่อนที่ สรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการนำเสนอ หาตัวแทนคนขับโชเลย์ 3 ล้อ ในพื้นที่ตำบลโคกสะตอ และได้ชี้แจงแนวทางต่าง ในการสร้างตลาด โดยตั้งเป้าหมายการจัดประชุมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิตจำนวน 30 รายและพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ขายจำนวน 30 ราย เพื่อให้ความรู้ทางการเกษตรกร และทักษะในด้การขาย และ ซึ่งในที่ประชุมผู้แทนเยาวชน ดำเนินกิจกรรมเรื่องการจัดการตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ เพราะเกษตรกรมีความถนัดเรื่องผลิตอย่างเดียว ไม่ถนัดเรื่องการขาย หากมีหน่วยงานมาช่วยจัดการระบบตลาดจะเป็นผลดีต่อเกษตรกร
|
0 | 0 |
2. การจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจำหน่ายผักปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการจำหน่ายผักปลอดภัยร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ณ บ้านไอร์กลูแป หมู่ 2 ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 7 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทุ่งกุนา จำนวน 3 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมการการวางแผน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการนำเสนอ นำผลผลิตมาจำหน่าย บนโชเล่ย์ 3 ล้อ ในพื้นที่ตำบลโคก
|
0 | 0 |
3. การจัดประชุมวางแผนหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต. |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดประชุมวางแผนหารือร่วมกับเจ้าหน้าที่ อบต.เกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ณ อบต.โคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 8 คน ประกอบไปด้วย เจ้าหน้าที่ อบต. จำนวน 4 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือทางเจ้าหน้าที่ อบต. ตำบลโคกสะตอ อำนวยความสะดวกสำหรับการสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ
|
0 | 0 |
4. ได้จัดอบรมศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิต |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้จัดอบรมศักยภาพเกษตรกรผู้ผลิต การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 18 สิงหาคม 2565 ณ อบต.โคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 31 คน ประกอบไปด้วย วิทยากร 1 คน คือ นายสุวรรร เปาะซา ผู้สอนภาควิชาการเกษตรจากโรงเรียนนราธิวาส เจ้าหน้าที่ อบต. จำนวน 6 คน เกษตรกรทั่วไป จำนวน 24 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการประชุม ได้จัดอบรมเกษตรกรผู้ผลิต การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ในพื้นที่ตำบลโคก เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตมากขึ้น มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือทางเกษตรการในตำบลโคกสะตอ จัดหาผลผลิตมาจำหน่าย บนโชเลย์ 3 ล้อ
|
0 | 0 |
5. ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา |
||
วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน เพื่อติดตาม ลงสำรวจผลผลิตของกลุ่มท่งกูนา ตำบลโคกสะตอ วันที่ 8 กันยายน 2565 ณ บ้านไอร์กลูแป หมู่ 2 ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 9 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทุ่งกุนา จำนวน 5 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการชี้แจงรายละเอียด การลงติดตามประเมินผล
|
0 | 0 |
6. ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทั่วไป |
||
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทั่วไป ตำบลโคกสะตอ ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน เพื่อติดตาม ลงสำรวจผลผลิตของกลุ่มเกษตรกรทั่วไป ตำบลโคกสะตอ วันที่ 11 กันยายน 2565 ณ แปลงเกษตรกรทั่วไป หมู่ 4 และหมู่ 6 ตำบลโคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 9 คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทั่วไป จำนวน 5 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการประชุม ได้จัดประชุมวางแผนร่วมกับเกษตรกรทุ่งกูนา ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ โดยมีการชี้แจงรายละเอียด การลงติดตามประเมินผล
|
0 | 0 |
7. ได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป |
||
วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน ชี้แจงรายละเอียดความคืบหน้าในการสั่งซื้อผลลิตระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย เพื่อติดตาม ลงสำรวจความคืบหน้าทาง ระบบไลน์ วันที่ 29 กันยายน 2565 ณ กลุ่มสตรีวิสหกิจชุมชนบ้านซอแดะ หมู่ 5 ตำบลโคก ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 10คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทั่วไป จำนวน 6 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จัดประชุมเกษตรกรทั่วไป ในเครือข่ายการพัฒนารูปแบบกระจายอาหารชุมชน ชี้แจงรายละเอียดความคืบหน้าในการสั่งซื้อผลลิตระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย เพื่อติดตาม ลงสำรวจความคืบหน้าทาง ระบบไลน์ วันที่ 29 กันยายน 2565 ณ กลุ่มสตรีวิสหกิจชุมชนบ้านซอแดะ หมู่ 5 ตำบลโคก ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 10คน ประกอบไปด้วย กลุ่มเกษตรกรทั่วไป จำนวน 6 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน
|
0 | 0 |
8. ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย |
||
วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ล้อ วันที่ 29 กันยายน 2565 ณ อบต.โคกสะตอ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 22 คน ประกอบไปด้วย วิทยากร 1 คน คือ นางสาวพารียา สือแม แม่ค้าออนไลน์ เจ้าหน้าที่ เกษตรกรทั่วไป จำนวน 15 คน ผู้ขาย จำนวน 2 คน ผู้ช่วยทีมงาน จำนวน 4 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการประชุม ได้จัดอบรมศักยภาพผู้ขาย การสร้างตลาดเคลื่อนที่ โชเล่ย์ 3 ในพื้นที่ตำบลโคก เพื่อเพิ่มศักยภาพผู้ขายให้มากขึ้น มติที่ประชุม ทางทีมงานขอความร่วมมือทางผู้ประกอบการ นำองค์ความรู้ที่ได้ในการจัดอบรมมาใช้ในการขายให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
Matching Model โคกสะตอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......