สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

งานสื่อกองทุนฯจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสื่อ เพื่อการวางแผนการดำเนินงานและการมอบหมายภารกิจงาน7 สิงหาคม 2565
7
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วิลาสลักษณ์ แก้วบุญเรือง
  • สรุปรายงานการประชุมวันที่-7-ส.ค.65.pdf
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เครือข่ายได้เกิดการแลกเปลี่ยนและเสนอแนวทางการทำงานร่วมกัน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เป็นการประชุมผ่านระบบ ZOOM  ทั้ง 5 พื้นที่ โดยสรุปเป็นการแลกเปลี่ยนการดำเนินกิจกรรมงานสื่อสารของแต่ละพื้นที่ และการวางแผนการออกแบบเพื่อการสร้าง platform กลาง สำหรับงานสื่อสารของแต่ละพื้นที่ นอกจากนั้นยังมีการวางแผนการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเพื่อยกระดับงานปฏิบัติการสื่อสารด้วยวิธีการแลกเปลี่ยนกับผู้ที่ชำนาญการใช้สื่อสารยุคใหม่ที่เกิดผลลัพธ์และสร้างการเปลี่ยนแปลงได้มีประสิทฺธิผล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต :
1. แนวคิดออกแบบและการสร้าง Platform ออนไลน์เพื่อการนำเสนอเนื้อหาเพื่อการสื่อสารกับประเด็นงานที่ขับเคลื่อน platform ที่ได้หารือร่วมกัน
- เพจเครือข่ายสื่อภาคใต้ต้องมีการแชร์ข้ามเพจเพื่อเป็นการทำงานร่วมกัน มี ธันยพร  แก้ววิหก เป็นผู้ดูแล
- เว็บไซต์ เว็บไซต์ www.สื่อสร้างสุขภาคใต้.com  อ.สมชิต  บัวทองจันทร์ เป็นผู้ดูแล มีเนื้อหาต่อเนื่องจากงานสร้างสุขปีที่แล้ว มีข้อมูลแต่ละประเด็น เป็นตัวจัดเก็บข้อมูลและอัพเดตที่เป็นปัจจุบัน
- You Tube จะเป็นในส่วนของการแชร์วิดีโองานที่เป็นปัจจุบัน แต่มีส่วนของข้อมูลเก่าที่ต้องรื้อออกเพื่อการอัพเดตที่เป็นปัจจุบัน อานนท์  มีศรี เป็นผู้ดูแล     YouTube เครือข่ายสื่อสร้างสุขจังหวัดกระบี่ (คุณธรรมดิวิชย์  ศรีรุ้ง/คุณฐิติชญาน์  บุญโสม)  การสื่อสารเป็นโมเดลต้นแบบมีการขับเคลื่อนเรื่องความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติบูรณาการกับการป้องกันภัยพิบัติ “การท่องเที่ยวปลอดภัยใส่ใจสิ่งแวดล้อม” มี 2 พื้นที่ คือ ต.ศาลาด่าน “ศาลาด่านโมเดล” อ.เกาะลันตา จงกระบี่ และ ต.มะรุ่ย (มะรุ่ยแห่งความสุข) อ.ทับปุด จ.พังงา ช่องทางการสื่อสาร ไลฟ์สด  แผนงานสื่อมีการทำแอพพลิเคชั่น  สื่อท้องถิ่นในพื้นที่ชุมชน ผลิตคลิปวิดีโอ การจัดทำสื่อในชุมชนมีการอบรมในการเผยแพร่สื่อฯ  การนำชิ้นงานนำส่งสู่แพลตฟอร์มของทางส่วนกลาง  การสื่อสารของประเด็นท่องเที่ยวเป็นช่วงระยะเริ่มต้น บางส่วนยังไม่ได้มีการตัดต่อ  เนื้องานที่เป็นอินโฟกราฟิกมีการผลิตร่วมกัน  มีการพูดคุยกันในพื้นที่  ต้องการทำสื่อในลักษณะวัฒนธรรม เพื่อการสานต่อสู่เด็กรุ่นใหม่     จังหวัดชุมพร  มีการแบ่งงานเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย บุคลากร/แพลตฟอร์ม  บุคลากรเป็นทีมผสมระหว่างพื้นที่  หน่วยงาน และวิชาการ  แพลตฟอร์มใช้ชื่อ สมาคมประชาสังคมชุมพร “สานพลังสร้างสุขชุมพร”  โดยใช้แพลตฟอร์ม You Tube / Tik Tok  ในการสื่อสารสาธารณะ  มีความร่วมมือจากครือข่ายซึ่งมีเพจเป็นของตัวเองสนับสนุนอยู่     ความก้าวหน้าของแผนงาน  คณะทำงาน การพัฒนาศักยภาพสื่อมีการรับสมัครผู้ที่สนใจ  เนื้อหาการเขียนข่าว กราฟิก  ภาพเคลื่อนไหว วิทยากรมีการติดต่อบ้างแล้วบางส่วน จังหวัดพัทลุง  คุณณรากาญจน์  บุญนวล  ตำบลบูรณาการ ต.นาท่อม     แพลตฟอร์มก้าวทัน คนหลายกลุ่มวัยสามารถเข้าถึงได้  แต่ขณะนี้พื้นที่ของประเด็นยังไม่มีความแน่ชัด  แพลตฟอร์มรวมจะมีการแยกเป็นเพจพื้นที่ สามารถเชื่อมโยงการสื่อสารของส่วนกลางและพื้นที่ไปด้วยกัน ทำงานบนออนไลน์มากขึ้นแต่ไม่มีกรอบที่ตายตัว
ประเด็นพืชร่วมยางใช้พื้นที่จังหวัด มี ชุมพร นครศรีธรรมราช  นราธิวาส  ระนอง
ผลลัพธ์ : การใช้ประโยชน์จาก Platform โดยการนำเสนอผลลานในรูปแบบต่างๆผ่านแพลตฟอร์ม และการนำเสนอ ก่อนงาน ระหว่างงาน หลังงาน พร้อมทั้งมีตัววัดปริมาณคนชม คนติดตาม และการแสดงความคิดเห็น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 7 คน จากที่ตั้งไว้ 7 คน
ประกอบด้วย
  1. เครือข่ายสื่อภาคใต้ จ.นครศรีธรรมราช
  2. เครือข่ายสื่อภาคใต้ จ.ชุมพร
  3. เครือข่ายสื่อภาคใต้ จ.พัทลุง
  4. เครือข่ายสื่อภาคใต้ จ.กระบี่
  5. เครือข่ายสื่อภาคใต้ จ.พังงา
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา :  ระบบอินเตอร์เน็ตมีความเสถียรไม่เท่ากัน แนวทางแก้ไข : จะมีการสลับการประชุมเป็นแบบ onside สลับกัน online

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่