สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน ”

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
ดร.คชาพล นิ่มเดช

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน

ที่อยู่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 61-ข-049 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-049

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน



บทคัดย่อ

โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน " ดำเนินการในพื้นที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ธานี ต.ขุนทะเล อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 61-ข-049 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการ 5 จังหวัดในภาคใต้ตอนบน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเพื่อวางแผนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ระหว่าง ทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงรายละเอียดคณะกรรมการประเมิน HIA ในทีม 5 จังหวัด
    2. ชี้แจงการลงบันทึกข้อมูลกิจกรรมผ่านเว็บไซต์ โดยมีรายละเอียดได้แก่ แผนงาน ปฏิทินกิจกรรม วัตถุประสงค์ รูปแบบการรายงาน การติดตาม
    3. บันทึกข้อมูลหลักการและเหตุผล แผนการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะกรรมการประเมิน HIA ทราบแนวทางการดำเนินงานโครงการ
    2. คณะกรรมการทราบแนวทางการบันทึกข้อมูลผ่านเว็บไซต์

     

    10 10

    2. ทบทวนการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

    วันที่ 1 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การทบทบทวนการใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากฐานข้อมูลวิชาการต่างๆ ได้แก่ MEDLINE, EMBASE, Center of Research Dissemination (CRD) ทำให้เข้าใจถึงประโยชน์จากการใช้ HIA  กระบวนการวิธีการ HIA ประโยชน์ รวมไปถึงการประยกต์ใช้ HIA ในสาขาต่างๆ

     

    6 6

    3. ประชุมทบทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA)

    วันที่ 22 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนวิธีการและการประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบสุขภาพ (HIA) จากแหล่งฐานข้อมูล MEDLINE, EMBASE, Science Direct 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    HiA เป็นวิธีการศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ เริ่มต้นเป็นการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน  ต่อมาได้มีการใช้ในหลายสาขา เช่น การศึกษา  โปรกรมสุขภาพเป็นต้น  ในประเทศไทย HIA มีบทบาทตั้งปี 2550 เนื่องจากมี พรบ. สุขภาพแห่งชาติ ทำให้จำเป็นต้องมีการประเมินผลกระทบที่เกิดจากโครงการต่างๆ และมีการทำประชาพิจารณ์โดยสาธารณะ
    ข้อดีของ HIA คือ กระบวนการแสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมของผู้ประเมิน ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณะ  ตกลงร่วมกัน / เสริมพลัง  ในการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น ตั้งแต่กระบวนการ Public Screening  Public Scoping  Assessing Public review 

     

    10 10

    4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ระหว่าง ทีมดำเนินโครงการ ทีมประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเจ้าของทุนวิจัย

    วันที่ 29 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เจ่้าของทุนวิจัยแนะนำทีมผู้ดำเนินโครงการจาก 5 จังหวัด และทีมประเมินผลกระทบทางสุขภาพ
    2. เจ้าของทุนวิจัยชี้แจงจุดประสงค์ให้มีการดำเนินโครงการในพื้นที่ 5 จังหวัด  ซึ่งมุ่งเน้นการตัวชี้วัดหลักของโครงการแต่ละโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ วิธีการขับเคลื่อนการผ่านกองทุนตำบล คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพอำเภอ(DHB) คณะกรรมการระดับจังหวัด (PHB) และคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป)
    3. ตัวแทนผู้ดำเนินโครงการใน 5 จังหวัด ได้บรรยายรายละเอียดการดำเนินโครงการ ประกอบด้วย ชื่อโครงการ จุดประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ กลวิธี/แผนในการดำเนินโครงการ และความคืบหน้าของการดำเนินโครงการ  และตอบคำถามผู้เข้าร่วมการประชุมในประเด็นที่มีข้อสงสัย
    4. ทีมผู้ประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) ได้ชีแจงและอธิบายรายละเอียดถึงจุดประสงค์ของการดำเนินโครงการ HIA  ซึ่งจะดำเนินควบคู่ไปกับการดำเนินการของโครงการในแต่ละจังหวัด เพื่อศึกษาถึงผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และผลกระทบทางสุขภาพที่ไม่ได้คาดว่าจะเกิดขึ้นมาก่อน  อีกทั้งทีม HIA ยังจะมีส่วนให้ข้อแนะนำการดำเนินโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผู้ดำเนินโครงการในแต่ละโครงการสามารถนำข้อเสนอแนะไปปรับใช้ได้ตามสมควร
    5. ทีมประเมิน HIA  กำหนดผู้รับผิดชอบในการทำการประเมินในแต่ละโครงการ และได้แจ้งให้ทีมดำเนินโครงการทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าของทุนได้อธิบายถึงจุดประสงค์และขอบเขตการดำเนินโครงการ ผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการเกิดความเข้าใจที่ตรงกันถึงจุดประสงค์ของโครงการประเมิน HIA
    ผู้ดำเนินโครงการรับทราบถึงความจำเป็นต่อการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และเกิดทัศนคติที่ดีของทีมดำเนินโครงการในพื้นที่กับทีมประเมิน HIA





     

    20 0

    5. กำหนดวิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน 5 จังหวัด

    วันที่ 10 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เปิดประชุมการวางแผนเพื่อกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมินกระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน และเป้าหมายของการกำหนดทิศทางประเมิน โดย ผศ.ดร. เพ็ญ สุขมาก สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
    -ชี้แจงแผน และรายละเอียดในการกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม โดยสาธารณะ โดย ดร.คชาพล นิ่มเดช และคุณซูวารี มอซู ผู้รับผิดชอบโครงการ -นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ดร.ดุริยางค์ วาสนา และ ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์ -วิพากษ์โครงการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี -นำเสนอวิธีการประเมินผล กระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง -วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง -นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร โดย ดร.โปรดปราน คำอ่อน -วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร -นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ดร.สายสุนีย์ จำรัส -วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช -สรุปผลการวิพากษ์โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) 5 จังหวัด โดย ผศ.ดร.สมทิพย์ ด่านธีรวนิชย์ -วางแผนการประชุมเพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการประเมินได้นำเสนอโครงร่างการประเมินผลกระทบในพื้นที่
    2. ผู้วิพากษ์ได้ให้ความเห็นต่อแผนโครงการร่างการประเมิน และผู้แทน สจรส ได้ให้ความคิดเห็นและจุดประสงค์เพิ่มเติม
    3. กำหนดการประชุมเพื่อวางแผนเตรียมความพร้อมก่อนจัดเวทีกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

     

    10 10

    6. ประชุมเพื่อพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการใน 5 จังหวัด ถึงประเด็น ความครอบคลุมของการดำเนินโครงการ ตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวลา 9.00 – 9.30 น.  เปิดประชุมการวางแผนเพื่อกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมิน กระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน และเป้าหมายของการกำหนด ทิศทางประเมิน โดย ผศ.ดร. เพ็ญ สุขมาก สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ
    เวลา 9.30 – 10.00 น. ชี้แจงแผน และรายละเอียดในการกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม         โดยสาธารณะ โดย ดร.คชาพล นิ่มเดช และคุณซูวารี มอซู ผู้รับผิดชอบโครงการ เวลา 10.00 – 10.30 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    โดย ดร.ดุริยางค์ วาสนา และ ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์ เวลา 10.30 - 10.45 น. วิพากษ์โครงการการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เวลา 10.45-11.00 น. นำเสนอวิธีการประเมินผล กระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงาน นอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง โดย ดร.พิเชตวุฒิ นิลละออ เวลา 11.00 – 11.15 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการขับเคลื่อนแรงงาน นอกระบบ แรงงานต่างด้าวโดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดระนอง เวลา 11.15 – 11.30 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุ ทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร โดย ดร.โปรดปราน คำอ่อน เวลา 11.30 - 12.00 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการจัดการอุบัติเหตุทางถนนโดยชุมชน อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 13.15 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย ดร.สายสุนีย์ จำรัส เวลา 13.15 – 13.45 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช เวลา 13.45 – 14.00 น. นำเสนอวิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดกระบี่
    เวลา 14.00 – 14.30 น. วิพากษ์วิธีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.) จังหวัดกระบี่ เวลา 14.30 – 15.30 น. สรุปผลการวิพากษ์โครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (ศวสต.)  5 จังหวัด โดย ผศ.ดร.สมทิพย์ ด่านธีรวนิชย์ เวลา 15.30 – 16.30 น. วางแผนการประชุมเพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมวิจัยเกิดกำหนดทิศทางการประเมินผลของโครงการการประเมินกระทบทางสุขภาพกรณีศึกษาโซนภาคใต้ตอนบน และเป้าหมายของการกำหนด โดยเข้าใจตรงกันถึงรายละเอียดเชิงลึกในการประยุุกต์ใช้ HIA เข้ามาประเมินโครงการ 5 จังหวัด เน้นที่กลไกการทำงานเชื่อโยงโครงการระดับหมู่บ้าน กองทุนตำบล พชอ. จังหวัด และระดับเขต และได้มีการชี้แจง Conceptual framework

     

    20 0

    7. ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

    วันที่ 19 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเมินรายละเอียดกิจกรรมการประเมิน และผลของกิจกรรมตามที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอน public scoping  การบวนการประเมินประกอบด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก  focused group และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการเกิดการทำงานอย่างเป็นรูปธรรม ระหว่างดำเนินโครงการ  กองทุนตำบล  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด

     

    25 12

    8. ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประเมินรายละเอียดกิจกรรมการประเมิน และผลของกิจกรรมตามที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอน public scoping  การบวนการประเมินประกิบด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก  focused group และการสังเหตุแบบมีส่วนร่วม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการเกิดการทำงานอย่างเป็นรูปธรรม ระหว่างดำเนินโครงการ  กองทุนตำบล  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจังหวัด

     

    0 10

    9. กำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) จังหวัดระนอง

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) ประสานงานกับผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม 2) จัดเตรียมพื้นที่และประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3) ดำเนินการจัดกิจกรรมเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดที่จัดทำขึ้น 4) สรุปกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ภาคีเครื่อข่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบตรงกัน มีการกำหนดแผนงานกิจกรรมร่วมกัน เกิดแนวทางในการขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบในพื้นที่เป้าหมาย

     

    50 20

    10. สรุปและนำเสนอผลความก้าวหน้าการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2562 เวลา 9.00-19.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ทบทวน (Review) การประยุกต์ใช้ HIA  ในระบบบริการสุขภาพ
    2. วิเคราะห์ข้อดีและข้อจำกัดของกระบวนการ HIA
      3.ถอดบทเรียนการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 4.สรุปผลการประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA  ในการประเมินโครงการภาคใต้ตอนบน 5.นำเสนอผลสรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการทบทวนการประยุกต์ใช้ HIA  ในระบบบริการสุขภาพ พบว่า  การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ หรือ Health Impact Assessment (HIA) ในประเทศไทย นับเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550  ซึ่งกฎหมายได้ให้การรับรองสิทธิประชาชนที่จะดำรงอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และสามารถร้องขอและมีส่วนร่วมในการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะได้คาดการณ์ผลกระทบที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของสังคม  และการสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี  โดยมุ่งเน้นศึกษาผลกระทบในด้านของสุขภาพ และผลเชื่อมโยงปัจจัยกำหนดสุขภาพ ได้แก่ ปัจเจกบุคคล สิ่งแวดล้อม และระบบบริการสุขภาพ

    ข้อที่พบจาการประยุกต์ใช้ HIA มาประเมินผลโครงการภาคใต้ตอนบน มีส่วนทำให้โครงการได้รับการปรับปรุงให้เกิดประสิทธิผลเพิ่มขึ้นเกิดจากร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน และร่วมประเมิน โดยสาธารณะ อันประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ผู้ได้กับผลกระทบจากโครงการ และทีมประเมิน HIA    ตามกระบวนการของ HIA อันประอบด้วย  Public screening Public scoping Assessing และ Public review

    โครงการ ศวสต. ภาคใต้ตอนบนใน 5 จังหวัดใน 6 พื้นที่ ประกอบด้วย ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช  เป็นโครงการที่ทำให้เกิดผลกระทบเชิงบวกต่อสุขภาพ  และมุ่ งเน้นการเชื่อมโยงการทำงานของโครงการต่อคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด และเขตสุขภาพ  ซึ่งเป็นการประเมินที่ควรวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)  สร้างแบบจำลอง  อธิบายกลไก และข้อคิดเห็นแต่การเชื่อมโยงการทำงานของคณะกรรมการแต่ละระดับออกมาได้
    จังหวัดการนครศรีฯ: โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ (เหล้า บุหรี่) - จังหวัดระนอง: โครงการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขแรงงานต่างด้าว - จังหวัดชุมพร: โครงการการลดอุบัติเหตุ - จังหวัดกระบี่: โครงการลดการสูบบุหรี่


    HIA จึงมีส่วนสำคัญและควรประยุกต์ใช้ในการทำงานและควรเริ่มพร้อมกับโครงการในพื้นที่พัฒนาโครงร่างโครงการ 


    การประชุมครั้งนี้ได้นำเสนอผลต่อผู้บริหาร และผู้แทนจากโครงการอื่นๆ เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนวิธีการการทำงาน และประยุกต์ใช้ HIA


     

    30 30

    11. ทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ครั้งที่ 1

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลักษณะการนำเสนอผลของการประยุกต์ใช้ HIA  เข้าร่วมในการประเมินโครงการ  ตั้งแต่กระบวนการ Public screening Public Scoping และ Assessing  ได้แก่ การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกำหนดขอบเขต  ร่วมประเมินทั้งทีมประเมิน HIA  ผู้รับปิดชอบโครงการ และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ  นำไปสู่การปรับปรุงโครงการเสริมพลังให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
    และมีการยกตัวอย่างประกอบจากประสบการณ์การลงพื้นที่เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการประชุมเข้าใจชัดเจน

     

    6 5

    12. ทบทวนผลการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ครั้งที่ 2

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปประเด็นการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ ภาคใต้ตอนบน เพื่อนำเสนอ ในที่ประชุมวิชาการ “สร้างสุขคนใต้ ครั้งที่ 11 ” 5-7 สิงหาคม 62  ห้อง HIA Forum โรงแรมนิภาการ์เด้น จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(สจรส.ม.อ.) เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานความร่วมมือกับองค์กร ภาคี เครือข่าย ต่าง ๆ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ (สช.)กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายภาคประชาสังคม เครือข่ายสื่อสารมวลชน และภาคประชาชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลักษณะการนำเสนอผลของการประยุกต์ใช้ HIA  เข้าร่วมในการประเมินโครงการ  ตั้งแต่กระบวนการ Public screening Public Scoping และ Assessing  ได้แก่ การร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกำหนดขอบเขต  ร่วมประเมินทั้งทีมประเมิน HIA  ผู้รับปิดชอบโครงการ และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ  นำไปสู่การปรับปรุงโครงการเสริมพลังให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการยกตัวอย่างประกอบจากประสบการณ์การลงพื้นที่เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการประชุมเข้าใจชัดเจน

     

    6 6

    13. ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)

    วันที่ 1 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการดำเนินโครงการการประยุกต์ใช้ HIA ในการประมินผลการดำเนินงานโครงการ 5 จังหวัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้บทสรุปผลการดำเนินดำเนินโครงการการประยุกต์ใช้ HIA ในการประมินผลการดำเนินงานโครงการ 5 จังหวัด  ข้อดี และข้อจำกัดของ HIA

     

    40 6

    14. รายงานสรุป

    วันที่ 20 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปรายละเอียด การดำเนินโครงการ และรายงานผลในรูป file และรูปเล่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานการศึกษาถึงผลกระทบต่อสุขภาพโดยสาธารณะ

     

    10 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการ 5 จังหวัดในภาคใต้ตอนบน
    ตัวชี้วัด : รายงานผลการศึกษาถึงผลกระทบต่อสุขภาพโดยสาธารณะ ของโครงการ 5 จังหวัด

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพของโครงการ 5 จังหวัดในภาคใต้ตอนบน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โซนภาคใต้ตอนบน จังหวัด สุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ 61-ข-049

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ดร.คชาพล นิ่มเดช )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด