แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข | 1 มิ.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
เพื่อสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน วิชาการ และสื่อสารมวลชน ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข | 1 มิ.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ | 1 มิ.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมทีมวิชาการแพทย์พหุวัฒนธรรมหารือแนวทางการผลักดันระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมฯ | 29 มิ.ย. 2565 | 29 มิ.ย. 2565 |
|
ผู้รับผิดชอบงานการแพทย์พหุวัฒนธรรม เข้าร่วมประชุม เพื่อให้เกิดการผลักดันแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่นสู่มาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ หรือมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ |
|
ได้แนวทางในการผลักดัน ดังนี้ 1.ปรับคู่มือ โดยประมวลผลร่วมกับผลการประเมินของ อ.ปรียา 2.นัดประชุมคณะทำงานเพื่อนำเสนอคู่มือที่ปรับ และหาแนวทางร่วมในการขับเคลื่อนร่วมกัน |
|
การประชุมหารือ การผลักดันแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพ และชุมชนท้องถิ่น (Guideline) สู่มาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ หรือมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ | 5 ก.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมหารือการผลักดันแนวปฎิบัติระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่นสู่มาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ | 5 ก.ย. 2565 | 5 ก.ย. 2565 |
|
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งในที่ประชุมทราบ
1.1 ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม
1.2 การจัดทำแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม และการนำไปใช้
ในโรงพยาบาลที่ผ่านมา
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบาย
สาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
|
- ส่วนแนวทาง Guideline ทีจะปรับตรงนี้จะทำให้ส่วนงานมีความยืดหยุ่นเพื่อ Apply เข้าสู่สถานบริการเอกชน - การนำ Guideline ไปใช้กับ รพ.สต.ต้องไม่ยุางยากและเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน จับต้องได้ ที่ผ่านมาจะเป็นหลักการวิชาการ แต่หน่วยปฏิบัติการต้องการความชัดเจนในเรื่องที่จะทำ - Guideline ต้องเพิ่ม case study หรือ โมเดล และเริ่มต้นทำในบางเรื่องที่สำคัญ เช่น อาหารฮาลาล เชื่อมโยงกับอาหารปลอดภัย มองไปที่วัฒนธรรมอาหารฮาลาลและปลอดภัย - เอา Guideline ไปขายให้กับ อปท.72 แห่ง จัดเวทีวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหานวัตกรรม มีใบประกาศ น่าจะทำให้เกิดการนำไปปรับใช้ ทำควบคู่กับการประสานกับ สรพ.ในการนำประเด็นนี้ไปปรับใช้ - ขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชนพหุวัฒนธรรมในชุมชนท้องถิ่นร่วมกับ ศบ.สต. - แต่งตั้งคณะทำงานชุดขับเคลื่อน |
|
ประชุมกลไกการรวมกลุ่มสถาบันทางวิชาการเพื่อความมั่นคงทางสุขภาพใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ | 6 ต.ค. 2565 | 6 ต.ค. 2565 |
|
ประชุมกลไกการรวมกลุ่มสถาบันทางวิชาการเพื่อความมั่นคงทางสุขภาพใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ |
|
ได้กลไกการรวมกลุ่มสถาบันทางวิชาการเพื่อความมั่นคงทางสุขภาพใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ |
|
กิจกรรมถอดบทเรียน ทบทวนคู่มือ มาตรฐานบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมสำหรับประชาชนที่มีความหลากหลายและประชากรกลุ่มเฉพาะในจังหวัดชายแดนใต้ | 14 เม.ย. 2566 | 14 เม.ย. 2566 |
|
* |
|
* |
|
กิจกรรมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ | 5 ส.ค. 2566 | 5 ส.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมให้ข้อเสนอแนะต่อเอกสารระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม | 7 ก.ย. 2566 | 7 ส.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|
ประชุมหารือการนพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมสู่การปรับใช้ระดับพื้นที่ และยกระดับสู่มาตรฐานและการรับรองคุณภาพของสรพ. | 17 ต.ค. 2566 | 17 ต.ค. 2566 |
|
* |
|
* |
|