สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข (2) เพื่อสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน วิชาการ และสื่อสารมวลชน ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก คือความมั่นคงทางอาหาร  ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข (2) เพื่อสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วม  กระบวนเรียนรู้ และบูรณาการกลไกทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน  วิชาการ และสื่อสารมวลชน ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ และภาคใต้สู่เป้าหมายภาคใต้แห่งความสุข (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ (4) ประชุมทีมวิชาการแพทย์พหุวัฒนธรรมหารือแนวทางการผลักดันระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมฯ (5) การประชุมหารือ การผลักดันแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพ และชุมชนท้องถิ่น (Guideline) สู่มาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ หรือมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ (6) ประชุมหารือการผลักดันแนวปฎิบัติระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในหน่วยบริการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่นสู่มาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ (7) ประชุมกลไกการรวมกลุ่มสถาบันทางวิชาการเพื่อความมั่นคงทางสุขภาพใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ (8) กิจกรรมถอดบทเรียน ทบทวนคู่มือ มาตรฐานบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมสำหรับประชาชนที่มีความหลากหลายและประชากรกลุ่มเฉพาะในจังหวัดชายแดนใต้ (9) กิจกรรมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่13 ภาคใต้แห่งความสุขเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคต สุข สู่ สุขภาวะ (10) ประชุมให้ข้อเสนอแนะต่อเอกสารระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม (11) ประชุมหารือการนพมาตรฐานระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมสู่การปรับใช้ระดับพื้นที่ และยกระดับสู่มาตรฐานและการรับรองคุณภาพของสรพ.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ