สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

อำเภอเมือง พัทลุง

ก.5 การประชุม กลไก พชอ. เพื่อติดตามความก้าวหน้า8 มิถุนายน 2566
8
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย tweet
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อการบริหารจัดการโครงการที่มีประสิทธิภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วาระที่ 1 สรรหาประธานในที่ประชุม นายเริ่ม เพชรศรี เป็นประะานการประชุม
วาระที่ 2 รายงานการขับเคลื่อนงาน พชอ.เมืองพัทลุง โดยเลขา พชอ.เมือง (ไม่มี)
วาระที่ 3 รับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน โดยนายสมนึก นุ่นด้ว  ที่ประชุมปรับแก้ชื่อผู้เข้าประชุม 2 ราย
วาระที่ 4 ติดตามมติที่ประชุมครั้งก่อน ที่ประชุมติดตามแผนอำเภอ ซึ่งคณะทำงานได้สร้างแผนอำเภอผ่านเว็บกองทุนประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย ส่วนการกำหนดเป้าหมายจะได้เสนอที่ประชุม พชอ. เป้นผู้กำหนดต่อไป
วาระที่ 5 รายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการ โดยคณะทำงานโครงการ
  -คณะทำงานปฏิบัติการ รายงานผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ 5 ขั้น ดังนี้
  1. คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่กแองทุนมีศักยภาพในการบริหารงานกองทุน
  2. ผู้รับทุน คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุน มีความรู้ เข้าใจ ตระหนักในเรื่องสุขภาพและแนวทางในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะ
  3. ขับเคลื่อนงานด้วยแผนสุขภาพกองทุน
  4. มีโครงการที่เชื่อมโยงกับแผนงาน และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ
  5. มีนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาวะ
จากการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานโครงการ ขณะนี้เกิดความสำเร็จที่บันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 4
  -คณะทำงานสื่อ งานการพัฒนานักสื่อวสารชุมชนตามโครงการ จะเร่งดำเนินการในเร็วๆนี้
  -คณะทำงานวิชาการ การดำเนินงานเป็นไปตามแผน
-การสอบถามจากที่ประชุม
วารที่ 6 รายงานแผนการทำงานช่วงต่อไป และการพิจารณาสร้างการมีส่วนร่วม โดยคณะทำงานโครงการ
  - การพัฒนาการติดตามและประเมินคุณค่าโครงการ จัดในกลางเดือนกรกฎาคม 2566
  - การยกร่างนโยบายสาธารณะ จัดในปลายเดือนกรกฎาคม 2566
วาระที่ 7 เรื่องอื่นๆ จากผู้เข้าประชุม
  - ค่าตอบแทนการเข้าประชุมของคณะทำงานสื่อให้เบิกจากผู้จัด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าประชุมครบองค์ประชุม
  2. การดำเนินงานเป้นไปตามแผน
  3. ปัจจัยความสำเร้จ
      3.1 บทบาทการนำของเลขากองทุน (การได้มาซึ่งข้อมุลทำแผนโดยใช้แหล่งข้อมูล HDC. /  การจับมือทำโครงการ /การสอนการเขียนโครงการรายคน/ สร้างคนรุ่นใหม่เข้ามาขับเคลื่อนงานกองทุน)
      3.2 การคืนข้อมูลของภาคีสุขภาพเพื่อเป็นข้อมุลต้นทุนการทำแผนสุขภาพกองทุน
      3.3 การสร้างกลไกช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาวะ เช่นคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคตำบล..
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานด้านปฏิบัติการ 3 คน
ด้านงานสื่อ 4 คน
ด้านวิชาการ 2 คน
ผู้แทน พชอ. 4 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน 7 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

22

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่