สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

แผนงานประเมินผล ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ กระบี่ (ตำบลศาลาด่าน) (2) การจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ พังงา (ตำบลมะรุ่ย) (3) กิจกรรมรับฟังแนวทางการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม ภายใต้การทบทวนรายละเอียดโครงการแผนงานย่อย/ทบทวนเอกสาร (4) ประชุมเวทีระดม-ร่วมปฎิบัติ "หุ้นส่วนการพัฒนาขับเคลื่อน" เปิดประตู-มะรุ่ยแห่งความสุข (5) กิจกรรมร่างแผนกิจกรรมการประเมิน ภายใต้การทบทวนรายละเอียดโครงการ/แผนงานย่อย/ทบทวนเอกสาร (6) กิจกรรมออกแบบและร่างเครื่องมือประเมินฯจากกรอบแนวคิดภายใต้การทบทวนรายละเอียดโครงการแผนงานย่อย/ทบทวนเอกสาร (7) ประชุมการทำแผนปฎิบัติงานมะรุ่ยแห่งความสุข (8) กิจกรรมทบทวนรายละเอียดโครงการ/แผนงานย่อย/ทบทวนเอกสาร (9) กิจกรรมประชุมทีมประเมินเพื่อสร้างแบบสอบถาม (10) กิจกรรมเก็บข้อมูลในพื้นที่จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้การลงพื้นที่เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ รอบที่ 1 (11) กิจกรรมเก็บข้อมูลในพื้นที่จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และวิเคราะห์ข้อมูล ภายใต้การลงพื้นที่เก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ รอบที่ 2 (12) ประชุมทีมประเมินสำหรับเก็บข้อมูลในพื้นที่และทบทวนสอบข้อมูล (13) เก็บข้อมูลในพื้นที่และทวนสอบข้อมูลภายใต้การลงพื้นที่เก็บข้อมูลและวิเคราะห์รอบที่1 (14) ประชุมติดตามการดำเนินงานประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการภัยพิบัติและการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่ออนุรักษ์ฐานทรัพยากรธรรมชาติควบคู่การท่องเที่ยวอย่างปลอดภัย "มะรุ่ยแห่งความสุข" (15) ประชุมทีมประเมินสำหรับเก็บข้อมูลในพื้นที่จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายใต้การลงพื้นที่เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ รอบที่2 (16) เก็บข้อมูลในพื้นที่จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้การลงพื้นที่เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลรอบที่2 (17) ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการพัฒนาทักษะและการสื่อสารสาธารณะเพื่อชุมชน (18) เวทีประชุมกลุ่มย่อยผู้นำชุมชนทั้ง 7 หมู่บ้าน (19) ลงพื้นที่สำรวจติดตามข้อมูลเพิ่มเติม (20) เก็บข้อมูลในการขับเคลื่อนของทีมขับเคลื่อนประเด็น แผนงานศาลาด่านโมเดล ร่วมกับเทศบาลตำบลศาลาด่าน (21) ประชุมสังเคราะห์การขับเคลื่อนของทีมขับเคลื่อนประเด็น แผนงานศาลาด่านโมเดล (22) เวทีนำเสนอความก้าวหน้าและการดำเนินงาน "มะรุ่ยแห่งความสุข" (23) กิจกรรมเก็บข้อมูลในการขับเคลื่อนของทีมขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศาลาด่านโมเดล (24) ประชุมสรุปร่างรายงานโครงการติดตามและประเมินผลโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะฯพื้นที่ศาลาด่านโมเดล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ