สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

task_alt

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 61-ข-054 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-054

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2561 ถึงเดือน มีนาคม 2562

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Screening อำเภอบ้านนาสาร

วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ร่วมกำหนดกลุ่ม stakeholders ในพื้นที่ อำเภอนาสาร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการวิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders ร่วมกับผู้รับผิดชอบงาน ระดับอำเภอ และ รพสต จากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีกลุ่ม stakeholders ดังนี้ 1.อสม 2.ประธานชมรม อสม.
3. Care Management 4. กำนัน
5. ประธานผู้สูงอายุอำเภอบ้านนาสาร ผู้ใหญ่บ้าน 6. ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 7. นายกเทศบาลฯ 8. รองนายกเทศบาลฯ 9. ปลัดเทศบาลฯ 10. ผู้อำนวยการโรงเรียนผู้สูงอายุ 11. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างผู้ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และ เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบโครงการในการกำหนด กลุ่ม stakeholders ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผู้สูงอายุ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. วิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders จากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders จากกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ นอกเหนือจากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

 

2 0

2. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Screening อำเภอคีรีรัฐนิคม

วันที่ 28 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้ ทราบรายละเอียดของกิจกรรม และวิธีการดำเนินงาน ของโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอศีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จะประกอบไป ด้วย การจัดประชุมคณะกรรมการ พัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพ พัฒนาศักยภาพกลไก DHB ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการดำเนินงาน อบรมการจัดทำแผนงานโครงการระดับตำบล เยี่ยมเสริมพลังชมรมผู้สูงอายุโดยชุมชน สรุปและถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยชุมชน จัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ และการสังเคราะห์ข้อมูล / ชุดความรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอำเภอบ้านนาสารตามแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การดำเนินงานผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม ได้ดำเนินไปมากกว่า ตัวแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการดูแล คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) โดยจะเน้นไปที่การดูแลกลุ่มติดบ้านติดเตียงไม่ให้อาการแย่ลง และช่วยฟื้นฟูร่างกายให้กลับมาช่วยเหลือตัวเองได้ ส่วนผู้สูงอายุที่ที่ช่วยเหลือตัวเองได้ มีการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานแผนงานโครงการผู้สูงอายุ และกิจกรรมอื่นๆ ที่พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอนาสาร

กิจกรรมที่ทำจริง

-สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานแผนงานโครงการผู้สูงอายุ และกิจกรรมอื่นๆ ที่พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม

 

2 2

3. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Scoping อำเภอบ้านนาสาร

วันที่ 20 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้ ทราบรายละเอียดของกิจกรรม และวิธีการดำเนินงาน ของโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จะประกอบไป ด้วย การจัดประชุมคณะกรรมการ พัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพ พัฒนาศักยภาพกลไก DHB ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนการดำเนินงาน อบรมการจัดทำแผนงานโครงการระดับตำบล เยี่ยมเสริมพลังชมรมผู้สูงอายุโดยชุมชน สรุปและถอดบทเรียนการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยชุมชน จัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ และการสังเคราะห์ข้อมูล / ชุดความรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอำเภอบ้านนาสารตามแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้

ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก การดำเนินงานผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอนาสาร ได้ดำเนินไปมากกว่า ตัวแผนงานโครงการที่ได้กำหนดไว้ โดยมีการดูแล คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ทั้ง 3 กลุ่มเป้าหมาย
1. ผู้สูงอายุที่ติดสังคม มีการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งกาย จิตใจ สังคม และ สนับสนุนการประกอบอาชีพเพื่อให้มีรายได้ 2. ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน มีทีมสุขภาพในการดูแล 3. ผู้สูงอายุติดเตียง มีทีมสุขภาพในการดูแล

ทราบปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอสาร เช่น
1. บางรพ สต. บริการทำ care plan ตั้งแต่ปี 2559 แต่ยังไม่สามารถเบิกเงิน 2. มีเงินเข้ามาดำเนินการในพื้นที่ แต่ได้งานเท่าเดิม แต่ ต้องทำงานเพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานแผนงานโครงการผู้สูงอายุ และกิจกรรมอื่นๆ ที่พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ อำเภอนาสาร

กิจกรรมที่ทำจริง

  • สัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินงานโครงการผู้สูงอายุ ในพื้นที่ อำเภอนาสาร
  • ปัจจัยสนับสนุนในการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการผู้สูงอายุ

 

2 2

4. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Scoping อำเภอคีรีรัฐนิคม

วันที่ 21 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ร่วมกำหนดกลุ่ม stakeholders ในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการวิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders ร่วมกับผู้รับผิดชอบงาน ระดับอำเภอ และ รพสต จากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีกลุ่ม stakeholders ดังนี้

  1. แกนนำผู้สูงอายุ
  2. ผู้สูงอายุ
  3. อสม.
  4. ผู้บริหารจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  5. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  6. ผู้รับผิดชอบงาน CM CG CP
  7. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
  8. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประประชุมกลุ่มย่อย ระหว่างผู้ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และ เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบโครงการในการกำหนด กลุ่ม stakeholders ที่เกี่ยวข้องกับโครงการผู้สูงอายุ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. วิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders จากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
  2. วิเคราะห์ กลุ่ม stakeholders จากกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ นอกเหนือจากแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

 

2 2

5. ประชุมเตรียมจัดทำเวที Public screening และ Public scoping

วันที่ 15 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เตรียมความพร้อม Public screening และ Public scoping

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 10 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

อาจารย์จาก สจรส.ม.อ. และผู้ประเมิน

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง นำเสนอและรับการวิพากษ์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมการเตรียมความพร้อม Public screening และ Public scoping

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุม

 

10 0

6. การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

วันที่ 20 ธันวาคม 2561 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้กรอบ การดำเนินงาน กิจกรรมการดำเนินงานมีทั้งหมด 5 กลุ่ม
1. การพัฒนาศักยภาพ
2. การจัดทำฐานข้อมูล
3. การเสริมสร้างองค์ความรู้
4. การติดตามประเมินผล
5. การผลักดันสู่นโยบาย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

Public screening and Scoping

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอำเภอนาสาร และคีรีรัฐนิยม
  2. ชี้แจงกระบวนการ การกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
  3. รับฟังความคิดเห็น
  4. สรุปประเด็นประเมินและวิธีการประเมิน

 

30 0

7. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

วันที่ 19 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) ตามกรอบ public scoping

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การดำเนินงานผู้สูงอายุ

  1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ ในพื้นที่สถานที่อนามัยควนสุบรรณ อำเภอนาสาร โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง ในการเขียนแผนโครงการ และการวิเคราะห์สถานะสุขภาพของผู้สูงอายุ จากฐานข้อมูล J ของสถานีอนามัย และการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ แล้วคืนข้อมูลให้ในแต่ละชุมชน และช่วยกันเขียนแผนโครงการผู้สูงอายุ ไปยังกองทุนสุขภาพระดับตำบล
    การดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ มีการนำ ชักจุง ผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ เช่น ครูเกษียณอายุราชการ เป็นแกนนำในการพัฒนาโรงเรียน พร้อมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน สนับสนุนในการดูแลสุขภาพ ทั้งรางกาย จิตใจ และสังคม และมีพัฒนาอาชีพเพื่อสร้างรายได้ และได้ขยายกิจกรรมไปภายในอำเภอ และภายนอกอำเภอ

  2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ การการขยายกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุไป ยังตำบลที่มีความพร้อม และใกล้ครอบคลุมมั้งอำเภอ และโรงเรียนผู้สูงอายุของอำเภอบ้านนาสารยังเป็นต้นแบบ ในอำเภออื่นๆ ในจังหวัดสุราฎณ์ธานี และไม่ได้พลักดันเป็น พชอ เนื่องจาก การดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ดำเนินการอยู่แล้ว จึงไม่ใช้ประเด็นทท่าทาย

  3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
    มีการพลักดันนโยบายจากส่วนกลางลงสู่จังหวัด และมาบรรจบกันในระดับอำเภอ

  4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ ไม่เป็น
  5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ กศน สาธารณสุข เกษตร อบต พัฒนาสังคม แกนนำชุมชน และ เอกชน มีส่วนร่วมในกรดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

Public Assessing โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping

กิจกรรมที่ทำจริง

สัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping

  1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ

  2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ

  3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ

  4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ

  5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ

 

5 6

8. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

วันที่ 20 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ ในพื้นที่โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง ในการเขียนแผนโครงการ และการวิเคราะห์สถานะสุขภาพของผู้สูงอายุ จากฐานข้อมูล J ของสถานีอนามัย และการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ มีการคัดกรองผูู้งอายุออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้สูงอายุติดสังคม ติดบ้าน และ ติดเตียง จะได้รับการดูแล ตามบริการ LTC ตาม Standard of living และ Standard of care มี ประเมินความต้องการ
  2. ด้านร่างกาย จิตใจ สิ่งแวดล้อมตามระดับการพึ่งพิง 2. ด้านความจำเป็นในการรับบริการจากรัฐ แล้วคืนให้ในแต่ละชุมชน และช่วยกันเขียนแผนโครงการผู้สูงอายุ ไปยังกองทุนสุขภาพระดับตำบล โดยมีคณะกรรมการ 3 ชุด กลั่นกรองตัวโครงการเพื่อให้ มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
    การดำเนินการพัฒนาคุณภาพชัวิตของผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐ เน้น ฟื้นฟูสุขภาพ (กายอุปกรณ์) โดยมีการจัดเป็นกองทุนกายอุปกรณ์ ในแต่ละ อบต โดยให้ เจ้าหน้าที่ รพ สต ประเมินสภานะสุขภาพ หากต้องฟื้นฟูสุขภาพ (กายอุปกรณ์) ส่งต่อให้ โรงพยาบาลประเมิน แล้วจะได้รับการสนับสนุน กายอุปกรณ์ จาก อบจ ส่วนการดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่ติดสังคมกำลังมีการพัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุ

  3. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ กองฟื้นฟูสุขภาพ (กายอุปกรณ์) ได้ขยายไปในพื้นที่ของ อำเภอคีรีรัฐ และได้เป็นอำเภอต้นแบบในการดำเนินการ และ การการขยายกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุไป ยังตำบลที่มีความพร้อม และใกล้ครอบคลุมมั้งอำเภอ และไม่ได้พลักดันเป็น พชอ เนื่องจาก การดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ดำเนินการอยู่แล้ว จึงไม่ใช้ประเด็นทท่าทาย

  4. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
    มีการพลักดันนโยบายจากส่วนกลางลงสู่จังหวัด และมาบรรจบกันในระดับอำเภอ

  5. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ ไม่เป็น
  6. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ โรงพยาบาล อบจ กศน สาธารณสุข เกษตร อบต พัฒนาสังคม แกนนำชุมชน และ เอกชน มีส่วนร่วมในกรดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) ตามกรอบ public scoping

กิจกรรมที่ทำจริง

สัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา ตามกรอบ ของ Public scoping 1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ
2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ 3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ 5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ

 

5 6

9. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing) อำเภอบ้านนาสาร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-สำหรับรูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ พบว่า อำเภอบ้านนาสารและอำเภอคีรีรัฐนิคม มีรูปแบบการมีส่วนร่วมที่คล้ายคลึงกัน แตกต่างเพียงแค่รูปแบบกิจกรรมที่ดำเนินการ คือ อำเภอบ้านนาสาร ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพและโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และกระทรวงมหาดไทยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ กระทรวงสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมต่างภายในพื้นที่ เช่น รพ.สต. สสอ. รพ. และ สสจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. และ อบต. และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนภายในโรงเรียนผู้สูงอายุและการส่งเสริมอาชีพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้านการจัดทำแผนชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการทำ MOU เพื่อจัดทำหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ วัดมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนธรรมมะในชีวิตประจำวัน กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)

กิจกรรมที่ทำจริง

-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)
1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ
2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ 3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ 5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอายุ

 

6 6

10. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) อำเภอคีรีรัฐนิคม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง โดยจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ โดยได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคมมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพของผู้สูงอายุ ทีมสหวิชาชีพ และการประสานการดำเนินงานระหว่างศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต เช่น สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น กองทุน long term care มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุและงบประมาณสำหรับผู้สูงอายุที่มีความจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ อบจ. มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดสร้างและปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้เหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีความพิการ ทุพลภาพ ที่ได้รับกายอุปกรณ์ ตลอดจนสนับสนุนเกี่ยวกับกายอุปกรณ์บางส่วน อบต.และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและดำเนินการในพื้นที่ กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับผู้สูงอายุที่อยู่ในศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่สามารถทำงานเป็นรายได้เสริมได้ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ เป็นต้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-ารประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)

กิจกรรมที่ทำจริง

-การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group)
1. เกิดแผนงาน/โครงการระดับกองทุนตำบล ผู้สูงอายุ
2. เกิดการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหา ผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ 3. สมัชชาสุขภาพจังหวัดในประเด็น ผู้สูงอายุ
4. ยกระดับงาน ผส.เป็นงานในระดับเขตสุขภาพ 5. เกิดเครือข่ายการทำงานเรื่อง ผู้สูงอาย

 

5 5

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 11 10                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 40,000.00 40,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 40 39                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ