สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

ศวสต


“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

อำเภอคีรีรัฐนิคม

หัวหน้าโครงการ
ดร. ดุริยางค์ วาสนา โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ที่อยู่ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัด

รหัสโครงการ 61-ข-055 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-055

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอคีรีรัฐนิคม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ศวสต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี



บทคัดย่อ

โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอคีรีรัฐนิคม รหัสโครงการ 61-ข-055 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก ศวสต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 20 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชากรโลกก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จากข้อมูลของสหประชาชาติพบว่า ในปี ค.ศ.2017 มีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 962 ล้านคน มากกว่า ค.ศ. 1980 เป็นสองเท่า (382 ล้านคน) และคาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2050 จะมีผู้สูงอายุสูงถึง 2.1 พันล้านคน (UN, 2017) สำหรับสถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย เพิ่มขึ้นประมาณ 7 เท่า จาก ค.ศ. 1960 จาก 1.5 ล้านคน เป็น 10.7 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2015 ประมาณร้อยละ 16 ของประชากรทั้งหมด และคาดการว่าในปี ค.ศ. 2035 จะมีผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้นมากกว่า 20 ล้าน ร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด (Knodel at al., 2015)
ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงของระบบร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายมีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง การเปลี่ยนแปลงส่งผลต่อปัญหาสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ เช่น ระบบภูมิคุ้มกันลดลง การยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง และ โรคเรื้อรัง (Eliopoulos, 2005) จากการศึกษาสถานะสุขภาพของผู้สูงอายุในประเทศ เกาหลี และสหรัฐอเมริกา พบผู้สูงอายุประมาณ ร้อยละ 37.7- 43.8 เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง ข้ออักเสบ โรคหัวใจ มะเร็ง และโรคปอด (Park, 2014: Marchi et al., 2008) สำหรับการศึกษาในประเทศไทย พบผู้สูงอายุมีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ประมาณ ร้อยละ18.8 – 54.10 (Knodel at al., 2015: จิณณ์ณิชา และ ปิยธิดา, 2558) ส่วนใหญ่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 53.2 ข้อเข่าเสื่อม ร้อยละ 37.5 และ เบาหวาน ร้อยละ 22.2 นอกจากนี้ผู้สูงอายุยังมีปัญหาด้านจิตใจ เกิดการเปลี่ยนแปลงบทบาททางสังคม การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก การเปลี่ยนแปลงทางสภาพสังคม และปัญหาสุขภาพทางกาย ส่งผลต่อสภาวะอารมณ์และจิตใจของผู้สูงอายุทำให้ผู้สูงอายุ มีความรู้สึกโดดเดี่ยว วิตกกังวล ซึมเศร้า และการนอนหลับผิดปกติ (Roy, 2003; Stanley and Beck, 2000; พีรสันต์, 2560) จากที่ผู้สูงอายุมีการเลิกจ้างการทำงานหรือเกษียณอายุราชการ ทำให้ขาดรายได้ ทำให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจได้อีกด้วย (Davis and Grant, 1990)
จากการที่ประเทศไทยเข้าสู่ระยะ ภาวะประชากรผู้สูงอายุ (Population ageing) รัฐบาลได้กำหนดแผนนโยบายผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) โดยต้องการผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการเกื้อกุลได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสม ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเกื้อกุลผู้สูงอายุ และต้องส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าถึงการบริการภาครัฐ ด้วยเหตุนี้ อำเภอคีรีรัฐนิคมและอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้ใช้หลักการของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของอำเภอโดยประชาชนเป็นศูนย์กลาง และทำงานอย่างมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ กำหนดปัญหาของร่วมกัน ซึ่งประเด็นผู้สูงอายุเป็นประเด็นที่พื้นที่ให้ความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในพื้นที่อำเภอคีรีรัฐนิคมและอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานีขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกระบบสุขภาพ ส่งเสริมบทบาทกองทุนหลักประกันสุขภาพ และจัดทำข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ แต่อย่างไรก็ตาม การดำเนินโครงการต่างๆ ล้วนมีผลกระทบต่อสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้นำกระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพมาเป็นแนวทางในการประเมินผลกระทบของโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อให้ทราบผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับปัจจัยกำหนดสุขภาพอันจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงสุขภาพทั้ง 4 มิติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Screening อำเภอบ้านนาสาร

    วันที่ 7 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมสังเกตการณ์และบันทึกข้อมูล ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประเด็นผลกระทบเบื้องต้นของโครงการสำหรับวางแผนประเมินโครงการต่อไป

     

    30 0

    2. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Screening อำเภอคีรีรัฐนิคม

    วันที่ 8 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมสังเกตการณ์และบันทึกข้อมูล ประกอบกับการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประเด็นผลกระทบเบื้องต้นของโครงการสำหรับวางแผนประเมินโครงการต่อไป

     

    30 30

    3. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Scoping อำเภอบ้านนาสาร

    วันที่ 27 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประเด็นผลกระทบเบื้องต้นของโครงการสำหรับวางแผนประเมินโครงการในขั้น public screening และ public scoping

     

    30 30

    4. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพื่อเตรียม Public Scoping อำเภอคีรีรัฐนิคม

    วันที่ 28 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประเด็นผลกระทบเบื้องต้นของโครงการสำหรับวางแผนประเมินโครงการในขั้น public screening และ public scoping

     

    30 30

    5. ประชุมเตรียมจัดทำเวที Public screening และ Public scoping

    วันที่ 15 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอและรับการวิพากษ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวทางและรูปแบบการจัดทำเวที Public screening และ Public scoping

     

    10 10

    6. จัดเวที Public screening และ Public scoping

    วันที่ 20 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอข้อมูลเบื้อต้นเกี่ยวกับโครงการและการประเมินแบบ HIA และเปิดเวทีให้มีการอภิปราย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประเด็นการประเมินเพื่อดำเนินการประเมินต่อ (ตามเอกสารแนบ)

     

    60 60

    7. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing)

    วันที่ 26 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลตามประเด็นการประเมิน

    การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group) ดังนี้

    1.ระดับตำบล

    จะพิจารณาการเกิดแผนงานหรือโครงการระดับตำบล ประกอบด้วย

    1.1 การจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุระดับตำบล มีการจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบระบบฐานข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุขหรือ รพ.สต. โดยใช้ฐานข้อมูลโปรแกรม HCIS และมีการจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและโรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุทุกคนจะมีสมุดประจำตัวเพื่อบันทึกข้อมูลด้านสุขภาพและข้อมูลสำคัญต่างๆ

    1.2 จำนวนแผนงานหรือโครงการที่ได้รับการสนับสนุนและดำเนินการจากงบประมาณกองทุนระดับตำบล พบว่า ทั้ง 2 อำเภอยังไม่มีข้อมูลจำนวนโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่แน่นอน แต่เบื้องต้นพบว่า มีโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุจำนวน 64 โครงการ โดยอำเภอคีรีรัฐนิคมซึ่งมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 9 กองทุน จะมีโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุอย่างน้อยกองทุนละ 3 โครงการ คือ โครงการเกี่ยวกับ long term care โครงการเกี่ยวกับกายอุปกรณ์ และโครงการเกี่ยวกับศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) ประกอบกับโครงการเกี่ยวกับรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 3 โครงการ รวมเป็นอย่างน้อย จำนวน 30 โครงการ สำหรับอำเภอบ้านนาสารซึ่งมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 11 กองทุน จะมีโครงการเกี่ยวกับชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อย จำนวน 11 โครงการ โครงการเกี่ยวกับโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 11 โครงการ โครงการเกี่ยวกับ long term care จำนวน 11 โครงการ โครงการมหกรรมสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 1 โครงการ รวมเป็นอย่างน้อย จำนวน 34 โครงการ

    1.3 การบูรณาการแผนงานหรือโครงการผู้สูงอายุในชุมชน มุ่งเน้นให้องค์กรชุมชนเป็นผู้เขียนโครงการของบประมาณเพื่อนำไปจัดทำโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ โดยมีคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. รับผิดชอบในการเป็นพี่เลี้ยงและสนับสนุน พร้อมทั้งจัดเตรียมเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับรายละเอียด ขั้นตอนการบริหารโครงการ (อบต.น้ำหัก) เพื่อให้องค์กรชุมชนดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล (พชต.) เพื่อนำเสนอปัญหาจากพื้นที่ โดยเฉพาะอำเภอบ้านนาสารมีการลงพื้นที่จัดทำแผนที่เดินดินโดย อสม.และผู้ใหญ่บ้าน เพื่อค้นหาปัญหาภายในพื้นที่และรวบรวมเป็นประเด็น พชต.ต่อไป

    1.4 คุณภาพโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ เริ่มต้นการดำเนินงานในยุคแรกเริ่ม รพ.สต.จะเป็นผู้เขียนโครงการให้กับองค์กรชุมชนนำไปขอรับงบประมาณ แต่หลังจากนั้นมีการส่งต่อรูปแบบโครงการให้กับองค์กรชุมชนไปจัดทำเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณด้วยตนเอง โดยมีเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.เป็นพี่เลี้ยง ให้คำปรึกษา และควบคุมคุณภาพของโครงการ เช่น พื้นที่อำเภอคีรีรัฐนิคมมีการจัดทำข้อตกลงเบื้องต้นว่า “หากทำโครงการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมอย่างเดียวจะไม่อนุมัติโครงการให้ โดยโครงการจะต้องไปดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน-ติดเตียงด้วย” และ “โครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณต่อเนื่อง จะต้องมีกิจกรรมที่นอกเหนือจากกิจกรรมที่เคยทำมาในปีที่ผ่านมา” ซึ่งถือเป็นมาตรการในการควบคุมคุณภาพโครงการอีกทางหนึ่ง

    1.5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ พบว่า ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อบต. เทศบาล สสอ. รพ.สต. ผู้นำชุมชน เป็นต้น ดังจะเห็นได้จากการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุในอำเภอบ้านนาสาร ในระยะเริ่มต้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่ให้ความสำคัญจึงทำให้การดำเนินงานเป็นไปค่อนข้างล่าช้า แต่เมื่อผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นที่น่าพึงพอใจ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจึงให้การสนับสนุน ส่งผลให้การดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ทุนทางสังคมในพื้นที่ยังเป็นปัจจัยสำคัญในการหนุนเสริมให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ เช่น การเชิญชวนผู้สูงอายุที่เป็นข้าราชการเกษียณอายุมาร่วมดำเนินงาน จะช่วยให้การติดต่อประสานงานและการดำเนินงานราบรื่นขึ้น เนื่องจากผู้สูงอายุกลุ่มนี้มีองค์ความรู้ เครือข่าย และประสบการณ์จากการทำงานสูง จึงทำให้งานสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    สำหรับอุปสรรคในการดำเนินงาน มีเฉพาะการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเบิกงบประมาณ โดยเฉพาะโครงการที่เกี่ยวกับ long term care มักประสบปัญหาในการเบิกจ่ายงบประมาณเนื่องจากความเข้าใจไม่ตรงกันของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติแต่ละหน่วยงาน

    1.6 นวัตกรรมหรือปฏิบัติการดีๆ ที่เกิดจากการดำเนินงานเกี่ยวผู้สูงอายุ พบว่า พื้นที่อำเภอบ้านนาสาร มีนวัตกรรม “การถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น” โดยเป็นการใช้บุคคลที่มีอยู่ในชุมชน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เป็นข้าราชการเกษียณมาทำประโยชน์ในการแสดงความสามารถตามศักยภาพที่มี หรือเป็นครู หรือเป็นพี่เลี้ยงสอนเรื่องต่างๆ หรือถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ให้กับนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุจากรุ่นสู่รุ่น สำหรับอำเภอคีรีรัฐนิคม มีนวัตกรรม “3 กองทุนสนับสนุน ระบบสุขภาพทุกกลุ่มวัย” ประกอบด้วย กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น กองทุน long term care และกองทุนฟื้นฟู โดยแนวทางในการดำเนินการจะเน้นการดูแลสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัยร่วมกัน โดยอาศัยงบประมาณและการดำเนินงานจาก 3 กองทุนเป็นหลัก

    1.7 การถอดบทเรียนการดำเนินงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) เพื่อนำไปสู่การยกระดับขยายผลในพื้นที่อื่นๆ พบว่า อำเภอคีรีรัฐนิคมมีการดำเนินงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) ภายใต้หลักการคือ “อยากให้ผู้ป่วยและญาติอยู่ใกล้บ้าน ไม่ต้องพักรักษาตัวไกลบ้าน” โดยก่อนหน้านี้ เมื่อมีการเจ็บป่วยทั้งผู้ป่วยและญาติจะต้องไปพักอยู่ที่โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ส่งผลให้เกิดความยากลำบากและสูญเสียรายได้ ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) จึงได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลผู้ป่วยแบบ intermediate care โดยการรับผู้ป่วยกลับจากโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีมาพักรักษาที่โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม หรือที่บ้านของผู้ป่วยเอง โดยมีทีมสหวิชาชีพเป็นผู้รับผิดชอบดูแล ทั้งนี้ ดูแลผู้สูงอายุ (day care) มีจำนวน 2 แห่งในปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม และ อบต.ท่าขนอน และในปี 2563 จะมีการเปิดเพิ่มเติมที่ อบต.กะเปา นอกจากนี้ การดำเนินงานของศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) จะต้องมีการประสานความร่วมมือกับกองทุน long term care และกองทุนฟื้นฟูอีกด้วย

    2.ระดับอำเภอ

    จะพิจารณาการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหาผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ โดยทิศทางการดำเนินงานและการเชื่อมโยงนโยบายด้านผู้สูงอายุของ พชอ. พบว่า ปัจจุบันประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุไม่ได้เป็นประเด็นหลักใน พชอ. เนื่องจาก ประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุมีการดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องจนไม่เป็นปัญหาสำหรับพื้นที่ แต่ทั้งนี้ ยังมีการจัดเป็นประเด็นรองเพื่อให้การดำเนินงานสามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การดำเนินงานในระดับอำเภอจะเป็นการควบคุมกำกับ สนับสนุน กำหนดนโยบายในการดำเนินงาน และการเยี่ยมเพื่อเสริมพลังเป็นส่วนใหญ่

    3.ระดับจังหวัด

    จะพิจารณา นโยบาย แผนงาน โครงการผู้สูงอายุระดับจังหวัด และการบูรณาการการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด (พชจ.) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) เป็นต้น พบว่า มีหน่วยงานหลักที่มีการดำเนินงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ คือ สสจ. และ อบจ. โดย สสจ. มีแนวทางในการดำเนินงานโดยการหาเครือข่ายและบูรณาการการทำงานร่วมกันกับภาคีอื่นๆ โดยมีเป้าหมายที่คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ซึ่งปัจจุบัน สสจ. ได้ประสานการทำงานร่วมกับ อบจ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยมีการจัดทำแผนระดับจังหวัดร่วมกันในการผลักดันงานคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รวมถึงมีการส่งเสริม ชี้ช่องทางหางบประมาณในการดำเนินงาน เช่น งบจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และยังมีแนวคิดเพิ่มกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุติดสังคมให้มีกิจกรรมทำร่วมกันมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ อบจ.ยังมีแผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ โดยมีการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูเพื่อสนับสนุนงบประมาณสำหรับการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง พิการ หรือทุพลภาพอีกด้วย

    4.ระดับเขตสุขภาพ

    จะพิจารณาการยกระดับงานผู้สูงอายุเป็นงานในระดับเขตสุขภาพ ประกอบด้วย นโยบายหรือแผนงานผู้สูงอายุระดับเขตสุขภาพ พบว่า ประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ เป็น 1 ใน 4 ประเด็นของยุทธศาสตร์การดำเนินงานของเขตสุขภาพ แต่ยังไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกถึงความเชื่อมโยงจากการดำเนินงานระดับพื้นที่ เนื่องจาก ประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุเป็นนโยบายจากส่วนกลางที่เขตสุขภาพจะต้องดำเนินการตามนโยบายด้วย

    5.เครือข่ายการทำงาน

    จะพิจารณาการเกิดเครือข่ายการทำงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การสร้างรูปแบบความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายที่มาหนุนเสริมการดำเนินงานผู้สูงอายุ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด และเขตสุขภาพ เช่น เครือข่ายภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน เครือข่ายทางด้านจิตใจ สมาธิ (มิติทางด้านศาสนา) หน่วยงานภาครัฐระดับอำเภอ (ที่นอกเหนือจากคณะกรรมการ) เป็นต้น พบว่า การดำเนินงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุจะเป็นการดำเนินงานในระดับพื้นที่เกือบทั้งหมด คือ การปฏิบัติการในระดับตำบลและการควบคุมกำกับ สนับสนุน เยี่ยมเสริมพลังในระดับอำเภอ สำหรับการเชื่อมโยงนโยบายหรือการผลักดันให้เกิดการดำเนินงานในระดับที่สูงขึ้นไป คือ ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พบว่า ยังไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกถึงความเชื่อมโยง มีเพียงแค่ข้อมูลที่บ่งบอกถึงการบรรจบกันของนโยบายจากส่วนกลางและการดำเนินงานในระดับพื้นที่ที่มีความตรงหรือเป็นเรื่องเดียวกันเท่านั้นเอง ทั้งนี้ อาจมีเพียงแค่การนำนวัตกรรมหรือการดำเนินงานที่ประสบผลสำเร็จไปขยายต่อในพื้นที่อื่น เช่น การขยายการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุไปสู่อำเภออื่นๆ จนทำให้ปัจจุบันจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีโรงเรียนผู้สูงอายุจำนวน 38 โรง การขยายการดำเนินงานกองทุนกายอุปกรณ์ไปสู่อำเภออื่นๆ เช่น อำเภอบ้านนาสาร เป็นต้น

    สำหรับรูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ พบว่า อำเภอบ้านนาสารและอำเภอคีรีรัฐนิคม มีรูปแบบการมีส่วนร่วมที่คล้ายคลึงกัน แตกต่างเพียงแค่รูปแบบกิจกรรมที่ดำเนินการ คือ อำเภอบ้านนาสาร ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพและโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และกระทรวงมหาดไทยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ กระทรวงสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมต่างภายในพื้นที่ เช่น รพ.สต. สสอ. รพ. และ สสจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. และ อบต. และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนภายในโรงเรียนผู้สูงอายุและการส่งเสริมอาชีพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้านการจัดทำแผนชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการทำ MOU เพื่อจัดทำหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ วัดมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนธรรมมะในชีวิตประจำวัน กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น

    สำหรับอำเภอคีรีรัฐนิคม ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง โดยจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ โดยได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคมมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพของผู้สูงอายุ ทีมสหวิชาชีพ และการประสานการดำเนินงานระหว่างศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต เช่น สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น กองทุน long term care มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุและงบประมาณสำหรับผู้สูงอายุที่มีความจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ อบจ. มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดสร้างและปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้เหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีความพิการ ทุพลภาพ ที่ได้รับกายอุปกรณ์ ตลอดจนสนับสนุนเกี่ยวกับกายอุปกรณ์บางส่วน อบต.และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและดำเนินการในพื้นที่ กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับผู้สูงอายุที่อยู่ในศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่สามารถทำงานเป็นรายได้เสริมได้ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ เป็นต้น

     

    30 30

    8. ลงพื้นที่ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Public Assessing)

    วันที่ 27 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูลตามประเด็นการประเมิน การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (public assessing) ด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (focus group) ดังนี้

    1. ระดับตำบล จะพิจารณาการเกิดแผนงานหรือโครงการระดับตำบล ประกอบด้วย
      1.1 การจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุระดับตำบล มีการจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบระบบฐานข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุขหรือ รพ.สต. โดยใช้ฐานข้อมูลโปรแกรม HCIS และมีการจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุและโรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุทุกคนจะมีสมุดประจำตัวเพื่อบันทึกข้อมูลด้านสุขภาพและข้อมูลสำคัญต่างๆ 1.2 จำนวนแผนงานหรือโครงการที่ได้รับการสนับสนุนและดำเนินการจากงบประมาณกองทุนระดับตำบล พบว่า ทั้ง 2 อำเภอยังไม่มีข้อมูลจำนวนโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่แน่นอน แต่เบื้องต้นพบว่า มีโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุจำนวน 64 โครงการ โดยอำเภอคีรีรัฐนิคมซึ่งมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 9 กองทุน จะมีโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุอย่างน้อยกองทุนละ 3 โครงการ คือ โครงการเกี่ยวกับ long term care โครงการเกี่ยวกับกายอุปกรณ์ และโครงการเกี่ยวกับศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) ประกอบกับโครงการเกี่ยวกับรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 3 โครงการ รวมเป็นอย่างน้อย จำนวน 30 โครงการ สำหรับอำเภอบ้านนาสารซึ่งมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 11 กองทุน จะมีโครงการเกี่ยวกับชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อย จำนวน 11 โครงการ โครงการเกี่ยวกับโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 11 โครงการ โครงการเกี่ยวกับ long term care จำนวน 11 โครงการ โครงการมหกรรมสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 1 โครงการ รวมเป็นอย่างน้อย จำนวน 34 โครงการ 1.3 การบูรณาการแผนงานหรือโครงการผู้สูงอายุในชุมชน มุ่งเน้นให้องค์กรชุมชนเป็นผู้เขียนโครงการของบประมาณเพื่อนำไปจัดทำโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ โดยมีคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. รับผิดชอบในการเป็นพี่เลี้ยงและสนับสนุน พร้อมทั้งจัดเตรียมเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับรายละเอียด ขั้นตอนการบริหารโครงการ (อบต.น้ำหัก) เพื่อให้องค์กรชุมชนดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตำบล (พชต.) เพื่อนำเสนอปัญหาจากพื้นที่ โดยเฉพาะอำเภอบ้านนาสารมีการลงพื้นที่จัดทำแผนที่เดินดินโดย อสม.และผู้ใหญ่บ้าน เพื่อค้นหาปัญหาภายในพื้นที่และรวบรวมเป็นประเด็น พชต.ต่อไป 1.4 คุณภาพโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุ เริ่มต้นการดำเนินงานในยุคแรกเริ่ม รพ.สต.จะเป็นผู้เขียนโครงการให้กับองค์กรชุมชนนำไปขอรับงบประมาณ แต่หลังจากนั้นมีการส่งต่อรูปแบบโครงการให้กับองค์กรชุมชนไปจัดทำเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณด้วยตนเอง โดยมีเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.เป็นพี่เลี้ยง ให้คำปรึกษา และควบคุมคุณภาพของโครงการ เช่น พื้นที่อำเภอคีรีรัฐนิคมมีการจัดทำข้อตกลงเบื้องต้นว่า “หากทำโครงการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมอย่างเดียวจะไม่อนุมัติโครงการให้ โดยโครงการจะต้องไปดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน-ติดเตียงด้วย” และ “โครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณต่อเนื่อง จะต้องมีกิจกรรมที่นอกเหนือจากกิจกรรมที่เคยทำมาในปีที่ผ่านมา” ซึ่งถือเป็นมาตรการในการควบคุมคุณภาพโครงการอีกทางหนึ่ง 1.5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ พบว่า ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อบต. เทศบาล สสอ. รพ.สต. ผู้นำชุมชน เป็นต้น ดังจะเห็นได้จากการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุในอำเภอบ้านนาสาร ในระยะเริ่มต้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่ให้ความสำคัญจึงทำให้การดำเนินงานเป็นไปค่อนข้างล่าช้า แต่เมื่อผลการดำเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุเป็นที่น่าพึงพอใจ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจึงให้การสนับสนุน ส่งผลให้การดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ทุนทางสังคมในพื้นที่ยังเป็นปัจจัยสำคัญในการหนุนเสริมให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ เช่น การเชิญชวนผู้สูงอายุที่เป็นข้าราชการเกษียณอายุมาร่วมดำเนินงาน จะช่วยให้การติดต่อประสานงานและการดำเนินงานราบรื่นขึ้น เนื่องจากผู้สูงอายุกลุ่มนี้มีองค์ความรู้ เครือข่าย และประสบการณ์จากการทำงานสูง จึงทำให้งานสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับอุปสรรคในการดำเนินงาน มีเฉพาะการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเบิกงบประมาณ โดยเฉพาะโครงการที่เกี่ยวกับ long term care มักประสบปัญหาในการเบิกจ่ายงบประมาณเนื่องจากความเข้าใจไม่ตรงกันของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติแต่ละหน่วยงาน 1.6 นวัตกรรมหรือปฏิบัติการดีๆ ที่เกิดจากการดำเนินงานเกี่ยวผู้สูงอายุ พบว่า พื้นที่อำเภอบ้านนาสาร มีนวัตกรรม “การถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น” โดยเป็นการใช้บุคคลที่มีอยู่ในชุมชน โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เป็นข้าราชการเกษียณมาทำประโยชน์ในการแสดงความสามารถตามศักยภาพที่มี หรือเป็นครู หรือเป็นพี่เลี้ยงสอนเรื่องต่างๆ หรือถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ให้กับนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุจากรุ่นสู่รุ่น สำหรับอำเภอคีรีรัฐนิคม มีนวัตกรรม “3 กองทุนสนับสนุน ระบบสุขภาพทุกกลุ่มวัย” ประกอบด้วย กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น กองทุน long term care และกองทุนฟื้นฟู โดยแนวทางในการดำเนินการจะเน้นการดูแลสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัยร่วมกัน โดยอาศัยงบประมาณและการดำเนินงานจาก 3 กองทุนเป็นหลัก 1.7 การถอดบทเรียนการดำเนินงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) เพื่อนำไปสู่การยกระดับขยายผลในพื้นที่อื่นๆ พบว่า อำเภอคีรีรัฐนิคมมีการดำเนินงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) ภายใต้หลักการคือ “อยากให้ผู้ป่วยและญาติอยู่ใกล้บ้าน ไม่ต้องพักรักษาตัวไกลบ้าน” โดยก่อนหน้านี้ เมื่อมีการเจ็บป่วยทั้งผู้ป่วยและญาติจะต้องไปพักอยู่ที่โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ส่งผลให้เกิดความยากลำบากและสูญเสียรายได้ ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) จึงได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อดูแลผู้ป่วยแบบ intermediate care โดยการรับผู้ป่วยกลับจากโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีมาพักรักษาที่โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม หรือที่บ้านของผู้ป่วยเอง โดยมีทีมสหวิชาชีพเป็นผู้รับผิดชอบดูแล ทั้งนี้ ดูแลผู้สูงอายุ (day care) มีจำนวน 2 แห่งในปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม และ อบต.ท่าขนอน และในปี 2563 จะมีการเปิดเพิ่มเติมที่ อบต.กะเปา นอกจากนี้ การดำเนินงานของศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) จะต้องมีการประสานความร่วมมือกับกองทุน long term care และกองทุนฟื้นฟูอีกด้วย

    2. ระดับอำเภอ จะพิจารณาการบูรณาการการดำเนินงานตามประเด็นปัญหาผู้สูงอายุ ในระดับอำเภอ โดยทิศทางการดำเนินงานและการเชื่อมโยงนโยบายด้านผู้สูงอายุของ พชอ. พบว่า ปัจจุบันประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุไม่ได้เป็นประเด็นหลักใน พชอ. เนื่องจาก ประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุมีการดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องจนไม่เป็นปัญหาสำหรับพื้นที่ แต่ทั้งนี้ ยังมีการจัดเป็นประเด็นรองเพื่อให้การดำเนินงานสามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การดำเนินงานในระดับอำเภอจะเป็นการควบคุมกำกับ สนับสนุน กำหนดนโยบายในการดำเนินงาน และการเยี่ยมเพื่อเสริมพลังเป็นส่วนใหญ่

    3. ระดับจังหวัด จะพิจารณา นโยบาย แผนงาน โครงการผู้สูงอายุระดับจังหวัด และการบูรณาการการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด (พชจ.) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ศธจ.) เป็นต้น พบว่า มีหน่วยงานหลักที่มีการดำเนินงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ คือ สสจ. และ อบจ. โดย สสจ. มีแนวทางในการดำเนินงานโดยการหาเครือข่ายและบูรณาการการทำงานร่วมกันกับภาคีอื่นๆ โดยมีเป้าหมายที่คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ซึ่งปัจจุบัน สสจ. ได้ประสานการทำงานร่วมกับ อบจ. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยมีการจัดทำแผนระดับจังหวัดร่วมกันในการผลักดันงานคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รวมถึงมีการส่งเสริม ชี้ช่องทางหางบประมาณในการดำเนินงาน เช่น งบจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อนำมาใช้ในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และยังมีแนวคิดเพิ่มกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุติดสังคมให้มีกิจกรรมทำร่วมกันมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ อบจ.ยังมีแผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ โดยมีการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูเพื่อสนับสนุนงบประมาณสำหรับการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง พิการ หรือทุพลภาพอีกด้วย

    4. ระดับเขตสุขภาพ จะพิจารณาการยกระดับงานผู้สูงอายุเป็นงานในระดับเขตสุขภาพ ประกอบด้วย นโยบายหรือแผนงานผู้สูงอายุระดับเขตสุขภาพ พบว่า ประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ เป็น 1 ใน 4 ประเด็นของยุทธศาสตร์การดำเนินงานของเขตสุขภาพ แต่ยังไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกถึงความเชื่อมโยงจากการดำเนินงานระดับพื้นที่ เนื่องจาก ประเด็นเกี่ยวกับผู้สูงอายุเป็นนโยบายจากส่วนกลางที่เขตสุขภาพจะต้องดำเนินการตามนโยบายด้วย

    5. เครือข่ายการทำงาน จะพิจารณาการเกิดเครือข่ายการทำงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การสร้างรูปแบบความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายที่มาหนุนเสริมการดำเนินงานผู้สูงอายุ ทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด และเขตสุขภาพ เช่น เครือข่ายภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน เครือข่ายทางด้านจิตใจ สมาธิ (มิติทางด้านศาสนา) หน่วยงานภาครัฐระดับอำเภอ (ที่นอกเหนือจากคณะกรรมการ) เป็นต้น พบว่า การดำเนินงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุจะเป็นการดำเนินงานในระดับพื้นที่เกือบทั้งหมด คือ การปฏิบัติการในระดับตำบลและการควบคุมกำกับ สนับสนุน เยี่ยมเสริมพลังในระดับอำเภอ สำหรับการเชื่อมโยงนโยบายหรือการผลักดันให้เกิดการดำเนินงานในระดับที่สูงขึ้นไป คือ ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พบว่า ยังไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกถึงความเชื่อมโยง มีเพียงแค่ข้อมูลที่บ่งบอกถึงการบรรจบกันของนโยบายจากส่วนกลางและการดำเนินงานในระดับพื้นที่ที่มีความตรงหรือเป็นเรื่องเดียวกันเท่านั้นเอง ทั้งนี้ อาจมีเพียงแค่การนำนวัตกรรมหรือการดำเนินงานที่ประสบผลสำเร็จไปขยายต่อในพื้นที่อื่น เช่น การขยายการดำเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุไปสู่อำเภออื่นๆ จนทำให้ปัจจุบันจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีโรงเรียนผู้สูงอายุจำนวน 38 โรง การขยายการดำเนินงานกองทุนกายอุปกรณ์ไปสู่อำเภออื่นๆ เช่น อำเภอบ้านนาสาร เป็นต้น สำหรับรูปแบบการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ พบว่า อำเภอบ้านนาสารและอำเภอคีรีรัฐนิคม มีรูปแบบการมีส่วนร่วมที่คล้ายคลึงกัน แตกต่างเพียงแค่รูปแบบกิจกรรมที่ดำเนินการ คือ อำเภอบ้านนาสาร ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้เกิดชมรมผู้สูงอายุคุณภาพและโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยมีหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และกระทรวงมหาดไทยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ กระทรวงสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมต่างภายในพื้นที่ เช่น รพ.สต. สสอ. รพ. และ สสจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. และ อบต. และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนภายในโรงเรียนผู้สูงอายุและการส่งเสริมอาชีพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนด้านการจัดทำแผนชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการทำ MOU เพื่อจัดทำหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุ วัดมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการเรียนการสอนธรรมมะในชีวิตประจำวัน กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น สำหรับอำเภอคีรีรัฐนิคม ดำเนินการโดยเน้นผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง โดยจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ โดยได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคมมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพของผู้สูงอายุ ทีมสหวิชาชีพ และการประสานการดำเนินงานระหว่างศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (day care) และกองทุนกายอุปกรณ์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับลักษณะความเป็นอยู่และความมั่นคงในชีวิต เช่น สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น กองทุน long term care มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุและงบประมาณสำหรับผู้สูงอายุที่มีความจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ อบจ. มีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการจัดสร้างและปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้เหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีความพิการ ทุพลภาพ ที่ได้รับกายอุปกรณ์ ตลอดจนสนับสนุนเกี่ยวกับกายอุปกรณ์บางส่วน อบต.และเทศบาลมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณและดำเนินการในพื้นที่ กรมการพัฒนาชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาช่องทางกระจายสินค้าให้กับผู้สูงอายุที่อยู่ในศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่สามารถทำงานเป็นรายได้เสริมได้ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีส่วนร่วมในการดูแลเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ เป็นต้น

     

    30 30

    9. ทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)

    วันที่ 15 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนข้อมูลให้กับพื้นที่ และเปิดโอกาสให้เพิ่มเติมและเสนอความคืดเห็นเพื่อความครอบคลุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อมูลมีความครบถ้วนตามร่างที่คืนข้อมูล

     

    60 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    ตัวชี้วัด : รายงานผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ 61-ข-055 รหัสสัญญา 61-ข-055 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด

    รหัสโครงการ 61-ข-055

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ดร. ดุริยางค์ วาสนา โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด