PSU UNDP

directions_run

(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน 21 มิ.ย. 2564 21 มิ.ย. 2564

 

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. ปลูกผักสานครัว , เพาะเห็ดฟาง , เลี้ยงไก่ไข่ , ทำปุ๋ยหมักอินทรีย์
  3. จำหน่ายผลผลิตราคาถูกให้กับชาวบ้านในชุมชน
  4. แจกจ่ายผลผลิตให้กับผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , โรงเรียนตาดีกา , กลุ่มบ้านสัมผัสผู้ป่วยโควิด , บ้านกักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง

 

เกิดความร่วมมือร่วมแรงกันของชาวบ้านในชุมชน  กลุ่มสตรีหญิงหม้ายคนด้อยโอกาสในพื้นที่ได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน  ผลผลิตที่ได้ ได้ขายในราคาที่ถูกให้กับชาวบ้านและแจกจ่ายให้กับกลุ่มเปราะบาง
ผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  กลุ่มบ้านผู้กักตัวที่มีฐานะยากจน

 

ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด 21 มิ.ย. 2564 22 มิ.ย. 2564

 

1.ประชุมคณะเยาวชน 2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง 3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจก กลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก หมู่ 11 ชื่อกิจกรรม ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก  เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด         ประมาณการ ตามรายละเอียดดังนี้ - ค่าวิทยากร จำนวน  2 วันๆละ 1,000 บาท                  เป็นเงิน 2,000บาท - ค่าไม้ไผ่ 83 แท่งๆละ 40 บาท                                    เป็นเงิน 3,330 บาท - หญ้าแห้งอัดก้อน 20 ก้อนละ 80 บาท                          เป็นเงิน 1,600 บาท - ค่าอาหารว่าง จำนวน 15 คนๆละ 40 บาท จำนวน 2 วัน    เป็นเงิน 1,200 บาท - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 80 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์มะเขือจำนวน 30 ซองละ 20 บาท                  เป็นเงิน 600 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูจำนวน 40 ซองๆละ 25 บาท            เป็นเงิน 1,000 บาท - ค่าเมล็ดพันธุ์ผักกรีนโอ๊ค จำนวน 20 ซองๆละ 35 บาท          เป็นเงิน 700บาท - ค่าจุลินทรีย์ EM จำนวน 20 ลิตรๆละ 100 บาท                เป็นเงิน 2,000 บาท - ค่ากากน้ำตาลจำนวน 40 ลิตรๆละ 50 บาท                      เป็นเงิน 2,000 บาท - ปุ๋ยอินทรีย์สำเร็จรูปจำนวน 6 กระสอบๆละ 445                เป็นเงิน 2,670 บาท - ค่าจ้างผู้ช่วยปฎิบัติงาน                                                เป็นเงิน 500 บาท                           รวมยอดทั้งสิ้น 20,000 บาท


วิธีการดำเนินงาน 1.ประชุมคณะเยาวชน 2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง 3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจกให้กับผู้ด้อยโอกาส/ผู้สูงอายุจากนั้นเอามาจำหน่ายต่อไปเพื่อขยายโอกาสให้กับกลุ่มเยาวชนหางไกลสิ่งเสพติดหันมาเรียนรู้ด้านเกษตร โดยให้เมล็ดพันธุ์ผักให้นำกลับไปปลูกที่บ้าน ต่อไป ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายสมาชิกกลุ่มมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ มีอาหารที่เพียงพอ เกิดรายได้ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน/กำไรที่ได้แบ่งให้กับสมาชิกกลุ่ม/เก็บทุนไว้ซื้อเมล็ดพันธุ์ผักในรอบต่อไป 4. พัฒนาพื้นที่ต้นแบบของเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติดโดยออกแบบตามหลักภูมิสังคมพัฒนาฐานเรียนรู้ให้แก่ชุมชนผู้สูงอายุในโอกาสและเด็กๆ 5.สรุปผลการทำงานและติดตามผลงานของกลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก ม.11 ต่อไป

 

กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ที่ว่างงานได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สร้างงานสร้างรายได้

 

ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด 21 มิ.ย. 2564 21 มิ.ย. 2564

 

1.ประชุมหารือในกลุ่มเยาชน (โดยเฉพาะเยาวชนที่ต้องออกจากการเรียนภาคบังคับ และไม่ได้เรียนต่อ) จำนวน 5 คน 2.หาบุคลกรเป็นที่ปรึกษาเพื่อจัดตั้งกลุ่มเยาวชนบ้านกาโสดเพื่อสร้างอาชีพ
3.ขอความอนุเคราะห์พื้นที่ในการจัดสร้างบ่อปูนซีเมนต์เพื่อการเลี้ยงปลาดุก 4.จัดอบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม การเลี้ยงปลาดุก 5.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างบ่อปูนซีเมนต์สร้างบ่อปูนซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกพร้อมเชื่อมโครงหลังคาเหล็กติดสแลนบังแดดและซื้อพันธ์ปลาดุกอาหารปลาดุก

 

กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด  ผลผลิตที่ได้นำมาขายสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในชุมชน  ชาวบ้านในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่ราคาถูกและปลอดภัย

 

เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์ 30 ส.ค. 2564 31 ส.ค. 2564

 

.ประชุมคณะกรรมการ 2 .จัดทำมุ้งบังแดดสำหรับแปลงเกษตร 3. แบ่งกลุ่มเกษตรสำหรับรับผิดชอบแปลงเกษตรแต่ละแปลง 4. ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายแก่สหกรณ์โรงเรียน เพื่อขายต่อให้กับโรงอาหาร หากยังมีเหลืออีกก็จะเอาไปตั้งตามร้านค้าในชุมชนสมาชิก ทำให้ชุมชนและโรงเรียนมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ กำไรที่ได้แบ่งเอามาต่อยอดในการบริหารและซื้อเมล็ดพันธ์และอุปกรณ์ต่อไป

 

ผลผลิตผักปลอดสารพิษ