สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา ”

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา

ที่อยู่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของอำเภอเทพาทุกแห่ง
  2. วางแผนการดำเนินงานและปรึกษา หารือประชุมร่วมกับ พชอ.อำเภอเทพา
  3. พัฒนาศักยภาพใน การทำแผนุขภาพ ระดับตำบลแก่ เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการ กองทุน ฯ
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ขอรับทุนในการเขียน โครงการที่ดีและสอดคล้อง กับประเด็นปัญหาของพชอ. และพื้นที่เพื่อขอรับทุนจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับพื้นที่
  5. เสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติโครงการ จากคณะกรรมการ กองทุน ฯ
  6. ทีมพี่เลี้ยงพัฒนา กลไกบูรณาการ สุขภาพ ในพื้นที่ หนุนเสริมกิจกรรม ในโครงการและ ติดตามโครงการเป็น ระยะ
  7. ติดตามเยี่ยมเสริม พลัง กองทุนโดย ทีมพี่เลี้ยงและทีมงาน
  8. สรุปผลดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วางแผนการดำเนินงานและปรึกษา หารือประชุมร่วมกับ พชอ.อำเภอเทพา

วันที่ 20 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ความเข้าใจกับ พชอ. เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่าง พชอ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อหาแนวทางในการขับเคลื่อนกลไกบูรณาการสุขภาพ และวางแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ กลุ่มเครือข่ายในพื้นที่ ผ่านพี่เลี้ยงกลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมตรงกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง) ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพนำร่อง คณะกรรมการ พชอ.และเลขาและเครือข่ายฯ จำนวน 4 คนทีมพี่เลี้ยงและผู้ดำเนินงานจำนวน 6 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พชอ.และพี่เลี้ยงกลไกเข้าใจงานด้านการพัฒนากลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมตรงกัน  พชอ.ยินดีทำงานร่วมกันแบบบูรณาการคณะกรรมการ พชอ.และเลขาและเครือข่ายฯ จำนวน 4 คนทีมพี่เลี้ยงและผู้ดำเนินงานจำนวน 6 คน ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯจำนวน 8 กองทุนกองทุนละ 7 คน ทีมพี่เลี้ยงและ ผู้ดำเนินการ จำนวน 5 คน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ขอรับทุนในการเขียน โครงการที่ดีและสอดคล้อง กับประเด็นปัญหาของพชอ. และพื้นที่เพื่อขอรับทุนจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับพื้นที่

วันที่ 5 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการผู้ขอรับทุนในการเขียนโครงการที่ดีผ่านทางเวปไซด์กองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่และสอดคล้องกับประเด็นปัญหาของพชอ.และพื้นที่ผ่านพี่เลี้ยงกลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมตรงกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง)เพื่อขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ผู้ขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯจำนวน 8 กองทุนกองทุนละ 7 คน ทีมพี่เลี้ยงและ ผู้ดำเนินการ จำนวน 5 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่เป็นโครงการที่ดีและบันทึกผ่านระบบได้อย่างถูกต้องและสอดคล้องกับประเด็น พชอ.และตรงกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง)

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

66 0

3. ประชุมผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของอำเภอเทพาทุกแห่ง

วันที่ 5 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่กองทุนพบกันและทำความเข้าใจร่วมกันในการทำกิจกรรมพัฒนากลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมละวางแผนการทำงานร่วมกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด  การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง) ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพนำร่อง
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลกองทุนละ 1 คน รวม 8 คนทีมพี่เลี้ยงและผู้ดำเนินงาน7 คน รวม 15 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนและพี่เลี้ยงกลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมตรงกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง) ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพนำร่อง เจ้าหน้าที่นำข้อมูลที่ประชุมไปนำเสนอผู้บริหาร และยินดีทำงานร่วมกัน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

15 0

4. พัฒนาศักยภาพใน การทำแผนสุขภาพ ระดับตำบลแก่ เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการ กองทุน ฯ

วันที่ 5 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในระบบออนไลน์ในเวปไซด์กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ โดยสอดคล้องกับประเด็น พชอ.ผ่านพ่เลี้ยงกลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมตรงกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง) ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพนำร่อง ผู้รับผิดชอบ กองทุนตำบล ฯกรรมการกองทุน กองทุนละ 3 คนรวม 40 คนทีมพี่เลี้ยงและผู้ดำเนินงานจำนวน 5 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงและกรรมการกองทุนช่วยกันปรับแผนของกองทุนเพื่อให้ครอบคลุมประเด็นปัญหาสอดคล้องกับประเด็นของพชอ.ผ่านพี่เลี้ยงกลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วมตรงกันการบูรณาการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ และกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสี่ยง) ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพนำร่อง.เพื่อพัฒนาโครงการเพื่อขอรับทุนในระบบ ผู้รับผิดชอบ กองทุนตำบล ฯกรรมการกองทุน กองทุนละ 3 คนรวม 40 คนทีมพี่เลี้ยงและผู้ดำเนินงานจำนวน 5 คน

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้แทนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของอำเภอเทพาทุกแห่ง (2) วางแผนการดำเนินงานและปรึกษา หารือประชุมร่วมกับ พชอ.อำเภอเทพา (3) พัฒนาศักยภาพใน การทำแผนุขภาพ ระดับตำบลแก่ เจ้าหน้าที่กองทุน คณะกรรมการ กองทุน ฯ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ขอรับทุนในการเขียน โครงการที่ดีและสอดคล้อง กับประเด็นปัญหาของพชอ. และพื้นที่เพื่อขอรับทุนจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับพื้นที่ (5) เสนอโครงการ เพื่อขออนุมัติโครงการ จากคณะกรรมการ กองทุน ฯ (6) ทีมพี่เลี้ยงพัฒนา กลไกบูรณาการ สุขภาพ ในพื้นที่  หนุนเสริมกิจกรรม ในโครงการและ ติดตามโครงการเป็น ระยะ (7) ติดตามเยี่ยมเสริม พลัง กองทุนโดย ทีมพี่เลี้ยงและทีมงาน (8) สรุปผลดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.เทพา จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด