ชื่อโครงการ | ประเมินผลภายใน งานสื่อสาธารณะ |
ภายใต้โครงการ | งานประเมินผลภายใน |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 กรกฎาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 |
แหล่งทุน |
ไม่ระบุ
|
งบประมาณ | 120,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ดร.ดุริยางค์ วาสนา และ ดร.ปวิตร ชัยวิสิทธิ์ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอานนท์ มีศรี |
พื้นที่ดำเนินการ | พื้นที่ดำเนินงานประเด็นการสื่อสารสาธารณะ 14 จังหวัดภาคใต้ |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
จังหวัด | อำเภอ | ตำบล | ชื่องานในพื้นที่ | ลักษณะพื้นที่ | |
---|---|---|---|---|---|
ภาคใต้ | place directions |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สื่อเป็นเครื่องมือที่ทรงอิทธิพลยิ่ง ทั้งในการสร้างการรับรู้ การเรียนรู้ของผู้คน และการสร้างความสัมพันธ์ รวมทั้งการรักษาสัมพันธภาพระหว่างกลุ่มคนต่างๆ เนื่องจาก การสื่อสารจะช่วยทำให้สมาชิกในกลุ่มมีโอกาสรับรู้เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง การสื
ประเมินโดยใช้กรอบแนวคิด CIPP Model และประยุกต์ใช้กระบวนการ HIA ในการประเมิน ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ สสส. ประกอบด้วย
- เกิดความรู้และนวัตกรรม
- พัฒนาขีดความสามารถของคนและเครือข่าย
- มีการสร้างสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เอื้อต่อการดำเนินงาน
- เกิดกระบวนการชุมชนและท้องถิ่นเข้มแข็ง
- เกิดกระบวนการนโยบายสาธารณะ
- เกิดคุณค่าทางจิตวิญญาณ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อประเมินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ : ประเด็นการสื่อสารสาธารณะ ด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA)
|
0.00 | |
2 | วัตถุประสงค์เฉพาะ เพื่อประเมินความสำเร็จและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จตามกรอบยุทธศาสตร์ สสส. ประกอบด้วย 1) เกิดความรู้และนวัตกรรม 2) พัฒนาขีดความสามารถของคนและเครือข่าย 3) มีการสร้างสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เอื้อต่อการดำเนินงาน 4) เกิดกระบวนการชุมชนและท้องถิ่นเข้มแข็ง 5) เกิดกระบวนการนโยบายสาธารณะ และ 6) เกิดคุณค่าทางจิตวิญญาณ
|
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 80 | 120,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 ก.ค. 63 - 31 ส.ค. 63 | การกลั่นกรอง (Public screening) และการกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน (Public scoping) | 9 | 22,000.00 | - | ||
1 ก.ย. 63 - 30 มิ.ย. 64 | การประเมินผลกระทบ (Public assessing) | 37 | 49,000.00 | - | ||
1 - 31 ก.ค. 64 | การทบทวนร่างรายงานโดยสาธารณะ (Public review) และ การผลักดันเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจ (Public Influencing) | 25 | 22,000.00 | - | ||
1 ส.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 | การติดตามและประเมินผล (Public Monitoring and Evaluation) | 9 | 27,000.00 | - |
ทราบผลการดำเนินงานด้านความสำเร็จและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ : ประเด็นการสื่อสารสาธารณะ ด้วยการประยุกต์ใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ สสส. ประกอบด้วย 1) เกิดความรู้และนวัตกรรม 2) พัฒนาขีดความสามารถของคนและเครือข่าย 3) มีการสร้างสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกที่เอื้อต่อการดำเนินงาน 4) เกิดกระบวนการชุมชนและท้องถิ่นเข้มแข็ง 5) เกิดกระบวนการนโยบายสาธารณะ และ 6) เกิดคุณค่าทางจิตวิญญาณ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มิ.ย. 2563 17:19 น.