สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ประเมินผลภายใน การจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อประเมินผลการนำระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรมไปใช้สร้างเสริมสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัด : รายงานผลการประเมินจำนวน 2 ครั้ง (ตามการปฏิบัติจริง จากปัญหาสภาพการในพื้นที่) ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2564 ผลิตคู่มือแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในหน่วยปฏิบัติการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่น คู่มือเสร็จแต่ช้ากว่าแผนเดิม ครั้งที่ 2 ธันวาคม 2564 การนำแนวปฏิบัติระบบบริการสุขภาพในหน่วยปฏิบัติการสุขภาพและชุมชนท้องถิ่นลงสู่การปฏิบัติในประเด็นเลือกสรร ของ 2 พื้นที่ใน อ.เทพา จ.สงขลา และ อ.เมือง จ.สตูล
100.00

 

 

 

2 เพื่อเสริมพลังผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์พหุวัฒนธรรมสร้างเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมเยี่ยมนิเทศพื้นที่โครงการจำนวน 5 ครั้ง (ผ่านระบบออนไลน์) กิจกรรมเยี่ยมนิเทศพื้นที่โครงการจำนวน 3 ครั้ง (การลงพื้นที่จริง รพ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี, รพ.สต.วังใหญ่ อ.เทพา จว.สงขลา, รพ.สตูล จ.สตูล
100.00

 

 

 

3 เพื่อหนุนเสริมเชิงวิชาการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่ายการทำงานสร้างเสริมสุขภาพชุมชนในบริบทพหุวัฒนธรรม
ตัวชี้วัด : เวทีพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้้อย่างน้อย 5 ครั้ง ทีมประเมินดำเนินการ จำนวน 8 ครั้ง ผ่านเครือข่าย สวนส. 4 ครั้ง
100.00