สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ”

พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด

ชื่อโครงการ ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเกษตรมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงของเศรษฐกิจในประเทศไทย รวมทั้งยังเป็นวิถีชีวิตของแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบต่อมายาวนาน ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยังคงให้ความสำคัญกับภาคการเกษตรโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาประยุกต์ใช้ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุน เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืน
ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรช่วยกันในการวางแผน อำนวยความสะดวกให้กับเกษตรกร สร้างแนวทางที่เหมาะสมด้านความมั่นคงทางอาหารของประชาชน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment – HIA) เอช ไอ เอ เป็นเครื่องมือการประเมินรูปแบบหนึ่งที่มีความมุ่งหวังเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และเสริมพลังอํานาจของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ทั้งผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ กลุ่มภาคีเครือข่ายที่ร่วมดําเนินงาน กลุ่มนักวิชาการที่มาช่วยในการขับเคลื่อนงาน เป็นการประเมินแบบมีส่วนร่วมที่ทําให้ทุกฝ่ายร่วมกําหนดทิศทางและเป้าหมายในการขับเคลื่อนงานร่วมกันและใช้ประโยชน์จากการประเมินในการยกระดับหรือเพิ่มผลกระทบทางบวกและปรับปรุงหรือลดผลกระทบทางลบของโครงการ ข้อเสนอแนะจากการประเมินจะถูกใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงโครงการในระยะต่อไป ในขั้นตอนการประเมินจะมีการประยุกต์ใช้แนวทางและเครื่องมือที่หลากหลายร่วมกันในการระบุ คาดการณ์ และพิจารณาถึงผลกระทบด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การกลั่นกรอง (Screening) 2) การกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Scoping) 3) การประเมินผลกระทบ (Assessing) 4) การจัดทาํและทบทวนร่างรายงาน (Reviewing) 5) การผลักดันสู่การตัดสินใจ (Decision making) 6) ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) เสริมพลังอำนาจให้แก่ทีมทำงานในพื้นที่ ของประเด็นด้านความมั่นคงทางอาหาร
  2. เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจง วางแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช)
  2. ประชุมติดตามการวางแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (นราธิวาส)
  3. ประชุมติดตามแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (ชุมพร)
  4. ร่วมเวทีการจัดทำแผนขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย "ตลาดปลอดภัย"ในระดับท้องถิ่น พื้นที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
  5. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนงานและโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ระบบอาหารนราธิวาส
  6. ประชุมวางแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระนอง
  7. ประชุมรับฟังความคิดเห็นในการประชุมคณะทำงานการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพเด็กในพื้นที่จังหวัดระนอง
  8. การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ระนอง
  9. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดชุมพร
  10. ประชุมวางแผนติดตามงานยุทธศาสตร์ระบบอาหาร 4 จังหวัด
  11. ประชุมสรุปงานยุทธศาสตร์ระบบอาหาร 4 จังหวัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดเครือข่าย/คณะทำงานในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารระดับภาคใต้ ที่ประกอบด้วยเครือข่ายวิชาการ ภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน และเครือข่ายนักวิชาการ ในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 1 เครือข่าย
  2. เกิดโครงการด้านอาหารปลอดภัยที่บรรจุสู่แผนจังหวัด อย่างน้อยจังหวัดละ 1 โครงการต่อปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจง วางแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช)

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการผลักดันยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดนครศรีธรรมราชสู่การปฏิบัติ ประเด็นการพัฒนาตลาดอาหารปลอดภัยในหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พื้นที่ต้นแบบอำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเชิญกลุ่มหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช สาธารณสุขอำเภอหัวไทร โรงพยาบาลหัวไทร รพสต. เทศบาลตำบล อบต. โรงเรียน เกษตร ประมง ผู้ประกอบการ และประชาชน ร่วมปรึกษาหารือ และวางแผนการดำเนินงานตลาดปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมได้ให้ข้อเสนอต่างๆ ดังนี้ 1.สร้างกฎ/กติกา ข้อตกลงร่วมกันในการทำตลาดปลอดภัย เช่น สินค้าที่สามารถวางจำหน่ายได้ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานต่างๆ อย่างน้อย 1 มาตรฐาน (GMP) พ่อค้าแม่ค้าที่จะเข้ามาค้าขายในตลาดจะต้องมีการตรวจสุขภาพ สุขลักษณะของผู้จำหน่ายสินค้า เป็นต้น 2.ข้อมูลสนับสนุนของตลาดที่ได้รับมาตรฐาน เพื่อนำมาปรับใช้กับตลาดในอำเภอหัวไทร เช่น กฎ กติกา โครงสร้าง เป็นต้น 3.Mapping กลุ่มเป้าหมาย ฐานลูกค้า ที่มีกำลังซื้อและมีความต้องการหรือมีความรู้ความเข้าใจที่จะบริโภคอาหารปลอดภัย รวมทั้งบริบทพื้นที่ที่เหมาะสมที่จะทำตลาด 4.ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น มีหน่วยงานในพื้นที่เข้ามาช่วยเหลือในการทำความสะอาดตลาดอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 5.กลไกสำคัญ คือ กลไกความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และ อปท. 6.โรงเรียนทำเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเต็มรูปแบบ พร้อมมีการจำหน่ายและตลาด เช่น ผักบุ้ง ส่งร้านอาหารบุฟเฟ่ต์ ด้วยเป็นสินค้าปลอดสารพิษ ซึ่งโรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นๆ ด้วย เช่น CP all และเป็นต้นแบบให้กับโรงเรียนอื่นๆ เข้ามาศึกษาดูงานและกลับไปพัฒนาโรงเรียนตนเอง
7.ขยายสู่ตลาด online ในอนาคต และเชื่อมโยงอาหารกับการท่องเที่ยว 8.เทศบาลตำบลหัวไทรเสนอเป็นศูนย์กลางการทำอาหารปลอดภัยของอำเภอ และเสนอให้เป็นวาระของอำเภอหัวไทร ในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย พัฒนาตลาดและตลาดสดของเทศบาลตำบลหัวไทร

ปัญหาและอุปสรรค (ที่ผ่านมา)
1.ข้อจำกัดของการทำตลาด เช่น กลุ่มผู้บริโภค ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน 2.สินค้าที่จำหน่ายในตลาดส่วนใหญ่รับมาจากนอกพื้นที่ (ยกเว้น กุ้ง ปลา)
3.ปัญหาของมาตรฐานโรงฆ่าสัตว์สู้ราคาไม่ไหว ด้วยราคาที่ค่อนข้างสูง และการฆ่าสัตว์เล็กๆ กันเองในชุมชน
4.ท้องถิ่นไม่ได้ทำตามประกาศ กระทรวงสาสุข 2561 ….. เช่น การอบรมผู้ประกอบการ ผู้จำหน่าย การตรวจสุขภาพพ่อค้าแม่ค้าตามเกณฑ์มาตรฐานที่ถูกต้อง
5.ปัญหาของตลาดปลอดภัย คือ ทำอย่างไรให้อาหารปลอดภัยเชื่อมโยงถึงตัวผู้ผลิต ผู้ผลิตสู้ราคาได้ ทั้งราคาทุนและราคาขาย และการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับกลุ่มผู้บริโภค (อยากบริโภคแบบปลอดภัย ได้สินค้าที่ดีมีคุณภาพ เหมาะสมกับราคา) 6.โรงพยาบาลเคยทำตลาด green market แต่เกิดปัญหา คือ ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วยในโรงพยาบาล 7.สินค้าประมงค่อนข้างราคาสูงส่งออกจำหน่ายนอกพื้นที่ให้ผู้บริโภคที่มีกำลัง คนในท้องถิ่นได้รับการบริโภคน้อย

  • photo บรรยากาศเวทีชี้แจงและปรึกษาหารือบรรยากาศเวทีชี้แจงและปรึกษาหารือ
  • photo บรรยากาศเวทีชี้แจงและปรึกษาหารือบรรยากาศเวทีชี้แจงและปรึกษาหารือ
  • photo บรรยากาศเวทีชี้แจงและปรึกษาหารือบรรยากาศเวทีชี้แจงและปรึกษาหารือ
  • photo จุดลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุมจุดลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม

 

20 0

2. ประชุมติดตามการวางแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (นราธิวาส)

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามความก้าวหน้าการขับเคลื่อนแผนข้าวอินทรีย์ จังหวัดนราธิวาส ร่วมกับเจ้าของโครงการ ในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. ที่มาและความสำคัญของโครงการ 2. แผนการดำเนินงาน 3. การวิเคราะห์กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้ที่เกี่ยวข้อง 4. ปัญหาหรืออุปสรรคที่ผ่านมา 5. เป้าหมายของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. การจะทำให้แผนอาหารขับเคลื่อนต่อไปได้จะต้องบรรจุเข้าไปในแผนปฏิบัติราชการของจังหวัด/หน่วยงาน จังหวัดนราธิวาสมีประเด็นพื้นที่ที่สนใจที่จะทำเรื่องอาหารปลอดภัย คือ ข้าวอินทรีย์ ปลอดภัยจากต้นทางการผลิต ซึ่งจะใช้แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารเป็นตัวผลักดัน จึงต้องปรึกษาหารือกับผู้ว่าราชการจังหวัดในการหารือวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน เพื่อร่วมทำแผนปฏิบัติราชการร่วมกันด้วย
  2. แผนการดำเนินงาน นักปฏิบัติการทำแผนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือคณะกรรมการที่มีอยู่แล้วจำนวน 1-2 ครั้ง จากนั้นคืนข้อมูลการทำแผน และเสนอแผนต่อผู้ว่า
  3. หน่วยงาน/stakeholder ที่เกี่ยวข้องที่จะเชิญเข้ามาทำปฏิบัติการ ได้แก่ กรมการข้าว สนง เกษตรและสหกรณ์ เกษตรจังหวัด เครือข่ายข้าว เครือข่ายชุมชน และภาคประชาสังคม
  4. ปัญหาหรืออุปสรรคที่ผ่านมา   แผนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดนราธิวาสยังไม่ได้ถูกนำไปขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ
  5. เป้าหมายของโครงการ
  • photo ติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoomติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoom
  • photo ติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoomติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoom
  • photo ติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoomติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoom
  • photo ติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoomติดตามความก้าวหน้าผ่าน zoom

 

5 0

3. ประชุมติดตามแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (ชุมพร)

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามความก้าวหน้า ทบทวนการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดชุมพร และให้ข้อเสนอแนะต่อการจัดทำแผน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนยุทธศาสตร์กำลังอยู่ในกระบวนการรวบรวมข้อมูล และยกร่างเอกสาร/ยกร่างแผนยุทธศาสตร์อาหาร ก่อนเข้าสู่เวทีกลาง เพื่อให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
โดยการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้มีการจัดตั้งทีม คือ Node fledges hip (NF) ของชุมพร หยิบยกประเด็นที่เป็นวาระของจังหวัดชุมพร ภายใต้วิสัยทัศน์ของจังหวัด “ชุมพรน่าอยู่บนพื้นฐานเกษตรกรรม และท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์สองฝั่งทะเล” โดยหยิบประเด็นเกษตรกรรมมาขับเคลื่อนและเป็นวาระของจังหวัด ด้วยวาระการลดใช้สารเคมี วาระเรื่องอินทรีย์ วาระลดโรคเรื้อรัง (NCD) ซึ่ง NF หยิบประเด็นเรื่องต่างๆ มาทำ ดำเนินการอยู่ 17 โครงการ ครอบคลุม 30 ตำบลของชุมพร

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

20 0

4. ร่วมเวทีการจัดทำแผนขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย "ตลาดปลอดภัย"ในระดับท้องถิ่น พื้นที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

วันที่ 22 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อกำหนดประเด็นการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยและคัดเลือกตลาดต้นแบบตลาดปลอดภัย ของอำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทราบสถานการณ์อาหารอำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช การตรวจสารพิษตกค้างในพืชผักและผลไม้ของจังหวัดนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่แหล่งกระจายสินค้า "ตลาดหัวอิฐ" ที่รับสินค้ามาจากแหล่งผลิตอื่น ทำให้ไม่ทราบแน่ชัดว่ามีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด
  2. ได้ตลาดต้นแบบ ในการดำเนินงาน "ตลาดปลอดภัย" คือ หลาดริมคลองหัวไทร
  3. ทราบถึงปัญหาอุปสรรค ทุนทางสังคม และกลไกขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยของอำเภอหัวไทร
  4. ได้ (ร่าง) แผนขับเคลื่อนและพัฒนายุทธศาสตร์ “อาหารปลอดภัย” อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช ปี 2564-2566 “ตลาดปลอดสาร อาหารปลอดภัย
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

5. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนงานและโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ระบบอาหารนราธิวาส

วันที่ 25 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนโครงการของยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดนราธิวาส และเก็บรวมรวมข้อมูลจากการประชุมกลุ่มย่อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดการทำงานร่วมกันของหลากหลายหน่วยงาน เช่น ฟาร์มตัวอย่างฯ บริษัทประชารัฐ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเล สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สำนักงานพาณิชย์จังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สถานีพัฒนาที่ดิน สำนักงานประมง โรงพยาบาลจะแนะ องค์การบริหารส่วนตำบลสุไหงปารี สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจังหวัด
  2. เกิดแผนงาน โครงการเกี่ยวกับระบบอาหารทั้ง 3 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

6. ประชุมวางแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระนอง

วันที่ 30 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัย จังหวัดระนอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดการทำงานร่วมกันของหลากหลายหน่วยงาน เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานจังหวัด (รองผู้ว่าราชการเป็นประธาน) องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด พาณิชย์จังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง และหอการค้าจังหวัด
  2. เกิดคณะทำงานและกรรมการขับเคลื่อนงานระบบอาหาร โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และสำนักงานจังหวัดทำหน้าที่เป็นเลขานุการ
  3. ทราบข้อมูลสถานการณ์ด้านอาหารจังหวัดระนอง
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

7. ประชุมรับฟังความคิดเห็นในการประชุมคณะทำงานการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพเด็กในพื้นที่จังหวัดระนอง

วันที่ 8 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมรับฟังความคิดเห็นในการประชุมคณะทำงานการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพเด็กในพื้นที่จังหวัดระนอง เพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารจังหวัดระนอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการประชุม วางแผน และร่วมแลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะของคณะทำงานการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพเด็กจังหวัดระนอง ประกอบด้วย รองผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง ปลัดจังหวัดระนอง ท้องถิ่นจังหวัดระนอง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดระนอง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระนอง เกษตรและสหกรณ์จังหวัดระนอง อุตสาหกรรมจังหวัดระนอง ศึกษาธิการจังหวัดระนอง รองอธิการบดี ฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ ม.อ. หัวหน้าสำนักงานจังหวัดระนอง และ11. ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สำนักงานจังหวัดระนอง

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

10 0

8. การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ระนอง

วันที่ 29 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ระนอง และรับฟังข้อคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพเด็กจังหวัดระนอง
  2. เกิดแผนงาน โครงการเกี่ยวกับระบบอาหารทั้ง 3 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย และมีการบูรณาการงานร่วมกัน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

5 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) เสริมพลังอำนาจให้แก่ทีมทำงานในพื้นที่ ของประเด็นด้านความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่าย/คณะทำงานในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารระดับภาคใต้ ที่ประกอบด้วยเครือข่ายวิชาการ ภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน และเครือข่ายนักวิชาการ ในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 1 เครือข่าย
0.00

 

2 เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย
ตัวชี้วัด : เกิดโครงการด้านอาหารปลอดภัยที่บรรจุสู่แผนจังหวัด อย่างน้อยจังหวัดละ 1 โครงการต่อปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อใช้กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) เสริมพลังอำนาจให้แก่ทีมทำงานในพื้นที่ ของประเด็นด้านความมั่นคงทางอาหาร (2) เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจง วางแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช) (2) ประชุมติดตามการวางแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (นราธิวาส) (3) ประชุมติดตามแผนงานขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร (ชุมพร) (4) ร่วมเวทีการจัดทำแผนขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย "ตลาดปลอดภัย"ในระดับท้องถิ่น พื้นที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช (5) ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนงานและโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ระบบอาหารนราธิวาส (6) ประชุมวางแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระนอง (7) ประชุมรับฟังความคิดเห็นในการประชุมคณะทำงานการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพเด็กในพื้นที่จังหวัดระนอง (8) การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ระนอง (9) ประชุมรับฟังความคิดเห็นแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดชุมพร (10) ประชุมวางแผนติดตามงานยุทธศาสตร์ระบบอาหาร 4 จังหวัด (11) ประชุมสรุปงานยุทธศาสตร์ระบบอาหาร 4 จังหวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ

ระยะเวลาโครงการ 16 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ประเมินผลภายใน ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร: เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด