การจัดระบบบริการสุขภาพด้านพัฒนาการเด็กแรกเกิดจนถึงวัยเรียนในพื้นที่พหุวัฒนธรรม เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอธารโต
1.เพื่อให้ครูสอนศาสนาในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเด็ก 2.เพื่อเสริมทักษะการสื่อสารสำหรับครูสอนศาสนาในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพเด็ก 3.เพื่อให้ครูสอนศาสนาเข้าใจและมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพเด็กนักเรียน
1.ประสานวิทยากรสุขภาพและผู้รู้ทางศาสนา 2.ประสานพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย 3.บรรยายและเสวนาเรื่อง 08.30 - 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 - 09.00 กล่าวรายงาน พิธีเปิด 09.00 - 11.00 น. บรรยายเรื่องทักษะการสื่อสารด้านหลักการทางศาสนาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในการดูแลบุตรให้มีคุณภาพ 11.00 - 12.00 บรรยายการสังเคราะห์ข้อมูลพัฒนาการเด็กกับผลกระทบต่อพัฒนาการเด็ก 13.00 - 14.00 น. บรรยายเชิงปฏิบัติการทักษะการสรา้งสื่อ การบริหารจัดการเด็กเพื่อพัฒนาการเด็กใน GEN Z ให้มีคุณภาพ 14.00 - 16.00 น. แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก บรรยายการสร่้างเสริมสุภาพจิตในเด็กนักเรียน กลุ่ม 2 หลักการศาสนากับการส่งเสรมิสุขภาพ - การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเด็กกับบทบาทครูสอนศาสนาในสังคมพหุวัฒนธรรม - ถ่ายทอดประสบการณ์ความเข้าใจหลักศาสนาและพฤติกรรมสุขภาพ - ทักษะการสร้างสื่อ การสื่อสาร และการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาเด็กใน GEN Z ให้มีคุณภาพในชั้นเรียน 4.ประเมินผล
1.กลุ่มครูสอนศาสนาและผู้ที่จะกำลังจะจบในชั้น 10 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการสื่อสารด้านสุขภาพและสามารถบูรณาการสอนและการส่งเสริมสุขภาพเด็ก GEN Z
2.โรงเรียนสามารถสร้างสิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนให้เอื้อต่อการสร้างเสริมพัฒนาการเด็กและอาจต่อยอดเป็นตาดีกา/ปอเนาะส่งเสริมสุขภาพ
3.ในโรงเรียน ตาดีกา สถาบันปอเนาะ มีกิจกรรมที่บูรณาการกิจกรรมส่งเสรมิสุขภาพกับหลักปฏิบัติทางศาสนา เช่น แรงฟันทุกคร้ังก่อนละหมาด บริหารอาหารที่มีประโยชน์
4.ทำสัญญาประชาคมในโรงเรียนให้มีการขายเฉพาะอาหารที่มีประโยชน์เท่านั้น
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
1.ครูสอนศาสนา (ตาดีกา กีรอาตี สอนในสถาบันปอเนาะ) จำนวน 60 คน 2.นักเรียนศาสนาชั้น 10 (กำลังจะจบชั้นเรียน) จำนวน 40 คน
1.ครูสอนศาสนาบางส่วนยังมองแยกส่วนระหว่างศาสนากับการส่งเสริมสุขภาพ (จากการพูดคุย) และได้กำหนดแผนให้มีกิจกรรมที่ร่วมสร้างความเข้าใจให้มีความต่อเนื่องและติดตามผลอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง และเน้นให้ผู้นำศาสนาเข้าร่วมในกิจกรรม
ควรเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชนและสถาบันทางศาสนา เพื่อสร้างความคุ้นเคยและความไว้วางใจ สรา้งศรัทธาร่วม เพื่อให้เกิดการร่วมมืออย่างจริงจังในการแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็กในพื้นที่
- เพื่อให้นักเรียนประถมที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะด้านการปฏิบัติธรรม
- เพื่อให้นักเรียนประถมที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ด้านสุขภาพ
- ขออนุมัติดำเนินงาน
- ประสานวิทยากร ประสานพื้นที่ดำเนินการ
- จัดทำหนังสือเชิญวิทยากร และกลุ่มเป้าหมาย
- จัดกิจกรรมอบรม
- สรุปผลการดำเนินงาน
นักเรียนประถมศึกษาในพื้นที่อำเภอธารโต จำนวน 138 คน มีทักษะในการปฎิบัติธรรมตามหลักธรรมเบื้องต้นของศาสนา และมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในด้านอบายมุข และมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่เหมาะสมต่อไป
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
นักเรียนประถมศึกษาในพื้นที่อำเภอธารโต
-
1.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่งานนามัยแม่และเด็กในเครือข่ายบริการสุขภาพให้สามารถนำไปปฏิบัติด้วยความเข้าใจบริบทพื้นที่ 2.เพื่อจัดทำแผนพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตในพื้นที่พหุวัฒนธรรม
1.ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
2.กำหนดเนื้อหาและหัวข้อการบรรยายและอภิปราย
3.จัดทำแบบฟอร์มและกรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก
4.ประสานวิทยากรและพื้นที่ดำเนินการ
5.บรรยายและปฏิบัติการกลุ่มตามหัวข้อดังนี้
1) นำเสนอสถานการณ์อนามัยแม่และเด็กและกลไกการพัฒนางานในพื้นที่พหุวัฒนธรรม
2) บรรยาย มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิตมุ่งสู่เป้าหมายเด็กธารโต 4.0
3) บรรยายหลักการและแนวคิดชุมชนมุสลิมกับรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรตามแนวทางนบี
4) สรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนมุมมองวิถีคิดการทำงานในพื้นที่
5) แบ่งกลุ่มเพื่ออภิปรายและจัดทำแผนแม่บทการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่พหุวัฒนธรรม โดยวิทยากรกลุ่ม
1) การจัดระบบบริการที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชน
2) แนวทางเพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนดสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
3) การสร้างสื่อเพื่อการสื่อสารพัฒนาการเด็กสำหรับพื้นที่
4) แนวทางเพื่อป้องกันและลดการตายมารดาสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ
5) แนวทางการเพิ่มอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และคุณค่าขอน้ำนมในมุมมองสังคมมุสลิมในพื้นที่
6) นำเสนอผลแต่ละกลุ่ม รับฟังข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กในพื้นที่ โดยวิทยากรกลุ่ม
7) อภิปรายทั่วไปและปิดการอบรม
8) กิจกรรมกระบวนการกลุ่มเพื่อสร้างสัมพันธภาพผู้รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็ก
1.ผู้รับผิดชอบหลักงานอนามัยแม่และเด็กสามารถเข้าร่วมร้อยละ 100 2.ผู้รับผิดชอบมีความรู้เรื่องแนวทางการเลี้ยงดูบุตรตามแนวทางซุนนะห์ท่านนบี (ศาสดา) และสามารประยุกต์ใช้ในการให้คำแนะนำและให้คำปรึกษาในระหว่างการให้บริการ 3.มีวิถีปฏิบัติในงานห้องคลอดของ รพ. ตามหลักการของอิสลาม 4.มีนวัตกรรมการสร้างสิ่งแวดล้อมในสถานบริการที่เอื้อต่อการใช้บริการในรพ. เช่น ผ้าปิดระหว่างให้นมบุตร
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบหลักงานแม่และเด็กระดับ รพ. สสอ. และรพ.สต. รวม 14 คน
ปัญหา : 1. ความเข้าใจของบุคลากรโดยรวมในการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก 2. การสร้างความเชื่อมั่นและการยอมรับของระบบบริการในพื้นที่ 3. การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กของชุมชน แนวทางแก้ไข : 1. จัดทำแนวทางและซักซ้อมการใช้แนวทางในการให้บริการ 2. เปิดช่องทางการรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางตามความต้องการการบริการของชุมชน 3. ค้นหาแกนนำอาสาจากชุมชนในการผลักดันระบบการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก 4. เสนอวาระการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กในที่ประชุมสภาพหุวัฒนธรรม
ยกระดับการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังกับประชาชนในพื้นที่
เพื่อติตตามการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานของโครงการจัดระบบบริการสุขภาพด้านพัฒนาการเด็กแรกเกิดจนถึงวัยเรียนในพื้นที่พหุวัฒนธรรม
- ทำหนังสือเชิญประชุม
- ดำเนินการประชุมตามแผน
- สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมทั้งหมดของโครงการ
- นำเสนอปัญหาและข้อเสนอแนะในการทำงาน
- ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการจัดระบบบริการสุขภาพด้านพัฒนาการเด็กแรกเกิดจนถึงวัยเรียนในพื้นที่พหุวัฒนธรรม
- ที่ประชุมรับทราบผลการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามวิถีอิสลาม
- ที่ประชุมร่วมแสดงความคิดเห็นเรื่องการทำอย่างไรให้เกิดการฝากครรภ์คุณภาพ โดยชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาในพื้นที่ คณะกรรมการจากชุมชนได้เสนอให้มีการกระตุ้นจากชุมชน โดยให้สามีซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องรับทราบความสำคัญ และแนะนำให้ภรรยาฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ
- ที่ประชุมได้ร่วมกำหนดให้มีการพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็ก
- ที่ประชุมร่วมกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมอบรมบทเรียนพัฒนาการและสุขภาพเด็กสำหรับครูสอนศาสนา
- ที่ประชุมร่วมกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมค่ายฤดูร้อนและพัฒนาความรู้สุขภาพ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมจำนวน 15 คน คปสอ.จำนวน 3 คน และผู้เกียวข้องด้านงานแม่และเด็ก จำนวน 2 คน
-
-
-
เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนงาน
- ทำหนังสือเชิญประชุม
- ดำเนินการประชุมตามแผน
- นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงานและการประเมินผล
- นำเสนอปัญหาและแนวทางแก้ไข
- สรุปผลการประชุม
- ที่ประชุมรับทราบผลการจัดกิจกรรมอบรมความรู้สุขภาพและการคูซุส (การอบรมเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงาน) สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย ที่จัดขึ้นที่ รร.สุทธิศาสน์วิทยา โดยมีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 100 คน
- ที่ประชุมร่วมกำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตามวิถีอิสลาม
เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมจำนวน 14 คน คปสอ.จำนวน 4 คน และผู้เกียวข้องด้านงานแม่และเด็ก จำนวน 2 คน
-
-
-
1.เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะในการดำเนินชีวิต ด้านปัญหายาเสพติด ด้านเพศศึกษา และหลักการสร้างครอบครัวตามแนวทางอิสลาม 2.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนด้านพฤติกรรมสุขภาพ
1.ขออนุมัติดำเนินงาน 2.ประสานวิทยากร ประสานพื้นที่ดำเนินการ 3.หนังสือเชิญ วิทยากร และกลุ่มเป้าหมาย 4.จัดอบรม สร้างแกนนำ 5.สรุปผลการดำเนินงาน
แกนนำด้านความรู้พฤติกรรมสุขภาพ ด้านยาเสพติด เพศศึกษา จำนวน 100 คน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
แกนนำนักเรียนมัธยมปลายพื้นที่อำเภอธารโต จำนวน 100 คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.จำนวน 2 คน อาจารย์ฝ่ายกิจกรรมนักศึกษาจำนวน 6 คน วิทยากร รพ.ยะลา จำนวน 4 คน วิทยากร รพ.เบตง จำนวน 1 คน เจ้าหน้าที่ รพ.ธารโต จำนวน 6 คน เจ้าหน้าที่ อบต.บ้านแหร จำนวน 2 คน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
เพื่อติดตามการดำเนินงานและประเมินผลการดำเนินงาน
- ทำหนังสือเชิญประชุม
- ดำเนินการประชุมตามแผน
- นำเสนอการดำเนินงานและการติดตามประเมินผลของกิจกรรมต่างๆ
- สรุปผลการดำเนินงาน นำเสนอปัญหาและข้อเสนอแนะ
- สรุปผลการประชุม
- ที่ประชุมรับทราบผลการดำเนินกิจกรรมการตรวจพัฒนาการเด็ก และการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังทันตสุขภาพ ซึ่งสามารถดำเนินการได้ตามแผน
- ที่ประชุมร่วมเสนอแนวคิดและกำหนดรูปแบบ กิจกรรมอบรมความรู้สุขภาพและการคูซุส (การอบรมเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงาน) สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมจำนวน 13 คน คปสอ.จำนวน 5 คน ผู้เกียวข้องด้านงานแม่และเด็ก จำนวน 2 คน ผู้เกี่ยวข้องด้านทันตกรรม จำนวน 1 คน
-
-
-
1.ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพ 2.ลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
1.รพ.สต.แจ้งสำรวจหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่อำเภอธารโต 2.จัดทำหนังสือแจ้ง รพ.สต.นำกลุ่มเป้าหมายร่วมกิจกรรม 3.ประสานวิทยากรบรรยาย 4.จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ และภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 5.การติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์โดยผู้รับผิดชอบงานระดับ รพสต.
1.)ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 2.)คุณภาพการฝากครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ร้อยละ 81.21 (เป้าหมาย 75) ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 72.14 (เป้าหมาย 60) 3.)ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ซีดครั้งที่ 1 ร้อยละ 32.66 ซีดครั้งที่ 2 ร้อยละ 43.33 ซีดครั้งที่ 3 ร้อยละ 20.66 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ10) 4.)แผนการติดตามหญิงตั้งครรภ์ภาวะซีดในพื้นที่
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
หญิงตั้งครรภ์ในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอธารโต,อสม,เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนงาน
1.ทำหนังสือเชิญประชุม
2.ดำเนินการประชุมตามแผน
3.นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงาน
4. สรุปผลการประชุม
- ที่ประชุมรับทราบผลการลงเยี่ยม ศพด. ตามแผน และร่วมกันสะท้อนปัญหาที่พบ ใน ศพด. ตลอดจนเสนอแนะแนวทางแก้ไขสำหรับการลงเยี่ยม ใน ศพด.อื่นๆ
- ที่ประชุมรับทราบแผนการปฏิบัติงานตามโครงการที่ต้องดำเนินการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมจำนวน 14 คน คปสอ.จำนวน 5 คน และผู้เกียวข้องด้านงานแม่และเด็ก จำนวน 2 คน
-
-
-
เพื่อติดตามการดำเนินงานกิจกรรมตามแผนงาน
- ทำหนังสือเชิญประชุม
- ดำเนินการประชุมตามแผน
- นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงาน
- สรุปแบ่งกลุ่มย่อยถอดบทเรียนและนำเสนอผลการทำกิจกรรมที่ผ่านมา
- จัดทำแผนพัฒนาและต่อยอดกิจกรรม
1.คณะกรรมการได้รับทราบแผนการลงเยี่ยมให้ความรู้ในศพด.เพื่อดำเนินการประชาสัมพันธ์ในชุมชน
2.คณะกรรมการได้ทราบผลการจัดกิจกรรมประชุมให้ความรู้ อสม.ในภาพรวม
3.คณะกรรมการไดร่วมจัดทำแผนพัฒนาต่อยอดกิจกรรม
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรม จำนวน 10 คน คปสอ.จำนวน 2 คน และผู้เกี่ยวข้องด้านงานแม่และเด็ก จำนวน 5 คน
-
-
-
เพื่อแจ้งแนวทางการจัดระบบบริการสุขภาพสอดคล้องกับวิถีชุมชน และบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรม ให้เด็กแรกเกิดจนถึงวัยเรียน มีคุณภาพพัฒนาการสมวัย (ลดเตี้ย เด็กฉลาด)
- ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
- รายงานสถานการณ์ด้านพัฒนาการเด็ก โดยนายมะยือรี หะแว นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
- จัดทำแผนบูรณาการการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยทีมผู้รับผิดชอบระดับเครือข่าย จัดทำแผนปฏิบัติงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บูรณาการงานพัฒนาการ งานโภชนาการ งานมาตรฐานศูนย์เด็กเล็ก ครัวฮาลาล และงานทันตกรรม
- ฟื้นฟูความรู้ผู้รับผิดชอบงานระดับเครือข่าย 4.1 งานทันตสาธารณสุข โดย ทันตแพทย์พรพิทักษ์ ภักดี ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการ 4.2 งานพัฒนาการเด็ก โดย นางสาวนัยนา มะแซ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ,นางสาวมารียัม แวหะยี ตำแหน่งนักจิตวิทยา 4.3 งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดย นางสาวอัสมาร์ สะมะแอ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน 4.4 งานโภชนาการ โดย นางสาวสุบูรียะห์ วาเลาะ ตำแหน่ง โภชนากร 4.5 รายงานสถานการณ์โรค และแนวทางการป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยนางสาวรุสนี มะตาเยะ
- อบรมการลงสหัสข้อมูลโปรแกรม HDC,รหัสประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยเครื่อง DSPM ใน HOSxp
แผนงานการปฏิบัติให้ความรู้/งานหัตถการ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แผนดำเนินกิจกรรมการตรวจพัฒนาการเด็ก และการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังทันตสุขภาพ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอธารโต ปีการศึกษา ๒๕๖๑ …………………………………………………………
ลำดับที่ วัน/เดือน/ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หมายเหตุ
1 16 ก.ค.2561 ศพด.บ้านปูยุด ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
2 17 ก.ค.2561 ศพด.บ้านวังไทร ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
3 1 ส.ค.2561 ศพด.บ้านละหาด ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
ศพด.บ้านปะเด็ง
4 2 ส.ค.2561 ศพด.บ้านคอกช้าง ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
5 7 ส.ค.2561 ศพด.บ้านแหร ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
6 8 ส.ค.2561 ศพด.บ้านบาตูปูเต๊ะ ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
7 9 ส.ค.2561 ศพด.สันติ 2 ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
8 16 ส.ค.2561 ศพด.บ้านนิคม ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
9 23 ส.ค.2561 ศพด.บ้านมายอ ฝ่ายทันตกรรม รพ.ออกร่วม
10 30 ส.ค.2561 ศพด.ฉลองศิริราชครบ60ปี
11 6 ก.ย.2561 ศพด.บ้านบัวทอง
12 13 ก.ย.2561 ศพด.บ้านบ่อหิน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบงานเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอธารโต จำนวน 40 คน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
1.)เพื่อตรวจพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน 2.)เพื่อตรวจสุขภาพช่องปาก อุดฟันด้วยวัสดุ GI 3.)เพื่อตรวจมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โภชนาการ นมโรงเรียน 4.)เสริมความรู้ผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
1.ประสานพื้นที่ดำเนินการ 2.จัดทำแผนปฏิบัตงานนอกสถานที่ 3.จัดเตรียมทีมงาน 4.ส่งแผนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รพ.สต. อบต.และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5.ดำเนินงานตามแผนในพื้นที่ศพด. 6.สรุปผลการดำเนินงาน และคืนข้อมูลให้กับพื้นที่
1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในพื้นที่ ศพด.13แห่ง จำนวน 300 คน 2.อุดฟันเด็กนักเรียน จำนวน 340 คน 3.ตรวจพัฒนาการเด็กจำนวน 340 คน 4.ประเมินศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามมาตรฐาน จำนวน 13 แห่ง 5.ประเมินคุณภาพการจัดเก็บนมโรงเรียน จำนวน 13 แห่ง
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ทีมสหวิชาชีพ ทันตกรรม โภชนากร ผู้รับผิดชอบงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก งานพัฒนาการเด็ก นักจิตวิทยา และบุคลากร อบต.และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
- เพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผน 2. เพื่อกำหนดรูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้อสม.
- ทำหนังสือเชิญประชุม
- ติดต่อประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
- ดำเนินการประชุมตามแผน
- นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงาน
- สรุปผลการประชุม
- ที่ประชุมได้ร่วมกำหนดหัวข้อในการจัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม. และค้นหาวิทยากรที่เหมาะสม
- ที่ประชุมได้แจ้งปัญหาที่เกิดจากการคัดกรองพัฒนาการเด็ก และปัญหาอื่นๆ ในเด็กที่พบในชุมชน เช่น การป่วยด้วยโรคติดต่อ การดูแลสุขภาพฟัน เป็นต้น ซึ่งที่ประชุมได้เสนอให้ อสม. และ ผู้รัผิดชอบระดับ รพ.สต. ได้รับการฟื้นฟูความรู้ที่เหมาะสมและทันเหตุการณ์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมจำนวน 14 คน ตัวแทนคปสอ.จำนวน 4 คน และผู้รับผิดชอบงานแม่และเด็ก จำนวน 2 คน
-
-
-
1.เพื่่อชี้แจ้งรายละเอียดกิจกรรมต่างๆ 2.เพื่อติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรม 3.สรุปผลการดำเนินงาน
- จัดทำหนังสือเชิญประชุม
2.ส่งหนังสือเชิญประชุมให้กลุ่มเป้าหมาย 3.ประ่ชุมตามแผน 4.สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมที่ทำแล้ว - สรุปผลการประชุม
1.นำเสนอผลการดำเนินงานคัดกรองเด็กใน ศพด.ของพื้นที่เป้าหมาย
2.เร่งรัดการดำเนินกิจกรรมคัดกรองพัฒนาการตามแผน
3.กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็กที่มีปัญหาทั้งที่พบจากชุมชนและศพด.
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการพหุวัฒนธรรมจำนวน 14 คน ตัวแทนคปสอ.จำนวน 3 คน และผู้รับผิดชอบงานด้านแม่และเด็ก 3 คน
ปัญหา : ชุมชนยังขาดความรู้เรื่องการคัดกรองเด็กที่มีปัญหาด้านพัฒนาการ
แนวทางแก้ไข : กำหนดให้ รพ.สต.ที่รับผิดชอบให้ความรู้อสม.และใช้แบบประเมินการคัดกรอง
ไม่มี
ไม่มี
1.เพื่อร่วมวางแผนและติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
1.ทำหนังสือเชิญประชุม
2.ดำเนินการประชุมตามแผน
3.นำเสนอความก้าวหน้าการดำเนินงาน
4.ร่วมถอดบทเรียนไตรมาสที่ผ่านมา
1.ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 18 คน
2.นำเสนอผลการอบรมให้ความรู้การเลี้ยงดูและเสริมสร้างพัฒนาการเด็กแก่ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ศพด.
3.แจ้งแผนการติดตามเสริมความรู้ให้กับผู้ปกครอง และตรวจพัฒนาการเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่กำหนดจากการอบรม
4.เอกสารถอดบทเรียน 1 ชุด
5.กำหนดจุดบริการสำหรับพระสงค์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมจำนวน 13 คน คปสอ.จำนวน 3 คน และผู้เกี่ยวข้อง 2 คน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
1.เพื่อให้ความรู้ด้านการเลี้ยงดูและการเสริมสร้างพัฒนาการเด็กตามวิถีศาสนาแก่ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ศพด. 2.เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูลูกและเสริมสร้างรากฐานที่ดีแก่เด็กตั้งแต่วัยเยาว์
1.หนังสือเชิญประชุม/เชิญวิทยากร 2.จัดทำเอกสารการประชุม 3.แบบสอบถามวัดความรู้ก่อน-หลัง 4.จัดอบรมให้ความรู้ 5. ร่วมซักถามแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
กิจกรรม อบรมให้ความรู้ การเลี้ยงดูพัฒนาการเด็ก (พัฒนาการ โภชนาการ วัคซีน สุขภาพฟัน)
1. จำนวนผู้ร่วมอบรม 100 คน
2. ทดสอบความรู้ก่อน-หลัง ผลลัพธ์ผู้เข้าอบรมตอบแบบสอบถาม 87 คน มีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 78.16
3. มีร่างกำหนด ผ่านการติดตามเสริมความรู้ให้กับผู้ปกครอง และตรวจพัฒนาการเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
-ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 13 แห่ง -ครูผู้ดูแลศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 13 แห่ง -เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาการเด็ก และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
1.เพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมตามแผนงาน
1.จัดทำหนังสือเชิญประชุม
2.ส่งหนังสือเชิญให้กลุ่มเป้าหมาย
3.ติดต่อประสานงาน
4.ดำเนินการประชุมตามแผน
5.สรุปผลการประชุม
1.ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยคณะกรรมการพหุวัฒนธรรมจำนวน 15 คน และคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอธารโต จำนวน 15 คน 2.มีการนำเสนอ 1 ผลงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการพหุวัฒนธรรมจำนวน 16 คน คปสอ.จำนวน 5 คน และผู้เกี่ยวข้องด้านงานแม่และเด็ก 2 คน
- คณะกรรมการพหุวัฒนธรรมไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ครบทุกคน
- แนวทางแก้ไข : ส่งรายงานการประชุมให้คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรมทุกคน
ไม่มี
จัดให้มีการประชุมสภาพหุวัฒนธรรมสัญจรในพื้นที่เป้าหมาย
เพื่อชี้แจงแนวทางการรายงานกิจกรรมและรายงานการเงินแบบออนไลน์
ชี้แจงขั้นตอนการบันทึกข้อมูลโครงการการจัดระบบสุขภาพในพื้นทีพหุวัฒนธรรม
สามารถบันทึกข้อมูลรายงานกิจกรรมและรายงานการเงินลงในเว็บไซต์สจรส.ได้ถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้รับผิดชอบโครงการระบบสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.ธารโต จ.ยะลา
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
- เพื่อชี้แจ้งรายละเอียดของโครงการการจัดระบบบริการสุขภาพด้านพัฒนาการเด็กแรกเกิดจนถึงวัยเรียนในพื้นที่พหุวัฒนธรรม 2. ชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงานของโครงการและร่วมวางแผนการดำเนินงาน
1.คัดเลือกตัวแทนกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด 2.ติดต่อประสานงาน 3.ส่งหนังสือเชิญ 4.ประชุมตามแผนการดำเนินงาน 5.พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรม
- มีตัวแทนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมครบ 19 คน 2.คณะกรรมการมีความเข้าใจแผนการดำเนินงานโครงการ 3. มีแผนปฏิบัติการการดำเนินงาน
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการสภาพหุวัฒนธรรม (สพส.) ตัวแทนคปสอ. ผู้รับผิดชอบงานแม่และเด็ก ตัวแทนผู้นำศาสนาพุทธและอิสาม และผู้เกี่ยวข้อง
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี