ชื่อโครงการ | ชุมชนบ้านทุ่งหยีเพ็ง จังหวัดกระบี่ |
ภายใต้โครงการ | การท่องเที่ยวโดยชุมชน |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 กรกฎาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 31 ตุลาคม 2563 |
แหล่งทุน |
ไม่ระบุ
|
งบประมาณ | 26,086.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางฐิติชญาน์ บุญโสม และนายประวิช ขุนนิคม |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านทุ่งหยีเพ็ง จังหวัดกระบี่ |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.594846,99.068442place |
จังหวัด | อำเภอ | ตำบล | ชื่องานในพื้นที่ | ลักษณะพื้นที่ | |
---|---|---|---|---|---|
กระบี่ | place directions |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ค. 2563 | 31 ต.ค. 2563 | 26,086.00 | |||
รวมงบประมาณ | 26,086.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 20 | 26,086.00 | 3 | 26,086.00 | |
7 - 8 ก.ย. 63 | การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการท่องเที่ยวหลังสถานการณ์โควิด 19 | 20 | 26,086.00 | ✔ | 26,086.00 | |
7 ต.ค. 63 | ารประชุมกลุ่มย่อยเพื่อทบทวนข้อมูลทั้ง 3 ชุมชนหลัก (บ้านถ้ำเสือ/ทุ่งหยีเพ็ง/นาตีน) *รายละเอียดการดำเนินงาน/ค่าใช้จ่าย บันทึกรายงานชุมชนบ้านนาตีน | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 | |
17 ต.ค. 63 | การประชุมกลุ่มย่อย 3 ชุมชนหลัก และชุมชนเครือข่ายเพื่อเสนอยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนหลังสถานการณ์โควิด 19*รายละเอียดการดำเนินงาน/ค่าใช้จ่าย ในหน้าบันทึกรายงานชุมชนบ้านนาตีน | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 |
รูปแบบการดำเนินงาน เป็นการจัดเวทีการประชุมในลักษณะการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) โดยมีแนวคำถามที่กำหนดไว้ตามวัตถุประสงค์การวิจัย ผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชน ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ใน 4 มิติหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจชุมชน สังคม/วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ/สุขภาวะ รวมทั้ง การปรับตัวของชุมชนหลังสถานการณ์โควิด 19 เพื่อนำสู่การพัฒนาสู่แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนโซนอันดามัน
ผลที่ได้จากการจัดเวทีประชุมย่อยในครั้งนี้ คาดว่าผลที่จะได้รับคือ 1. ข้อมูลปัจจุบันของชุมชนท่องเที่ยว ทั้ง 4 มิติ ต่อผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ในเชิงบวกจะเป็นต้นแบบการพัฒนาต่อ และหากพบในเชิงลบจะนำสู่ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น 2. ข้อมูลที่ได้รับสามารถนำสู่การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอันดามันได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มิ.ย. 2563 15:19 น.