-
-
-
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
-
-
-
-
- สัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลผู้ให้บริการในระบบสุขภาพพยาบาลวิชาชีพ
- สัมภาษณ์เชิงลึกการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธกับนักวิชาการด้านการพยาบาลพหุวัฒนธรรม
- สนทนากลุ่มย่อย ผู้รับบริการ ในการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ
- สนทนากลุ่มผู้นำศาสนาพุทธ ในการจัดระบบดูแลสุขภาพวิถีพุทธ
- สัมภาษณ์เชิงลึกการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธในพื้นที่พหุวัฒนธรรมเจ้าหน้าที่วิชาการสาธารณสุข
ระหว่างวันที่ 4 ตค. - 6 พย. 2559
ผลผลิต (Output)
- เกิดกิจกรรมวงคุยรายบุคลและรายกลุ่ม จำนวน 4 ครั้ง
ผลลัพธ์ (Outcome)
- ข้อมูลการประยุกต์วิถีพุทธในการดูแลสุขภาพระดับ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1 ชุด เครือข่ายนักปฏิบัติการสุขภาพที่ประยุกต์วิถีพุทธในการดูแลสุขภาพ 1 เครือข่าย สาระสำคัญของการประยุกต์ใช้พบว่า เป็นการใช้ระดับบุคคลที่มีความสนใจ และเชี่ยวชาญเฉพาะ การยกระดับวิถีพุทธเข้าสู่ระบบโรงพยาบาลที่เป็นนโยบายการปฏิบัติยังไม่ชัดเจนและไม่พบแนวปฏิบัติการดูแลวิถีพุทธในระบบสุขภาพ ที่ชัดเจนแต่บุคคลากรและชุมชนพุทธอยากให้นำแนวคิดนี้มาใช้อย่างจริงจังเพื่อส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการ
ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
- มีพื้นที่ให้บริการที่สนใจพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพที่ประยุกต์วิถีพุทธไปใช้ในระบบสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลชุมชน 2 พื้นที่ ระดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล 2 แห่ง
- บุคคลากรสาธารณสุขอยากให้มีการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรมและสมรรถนะการดูแลผู้รับบริการวิถีพุทธ
- พื้นที่นำร่องการขับเคลื่อนระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมระดับต่างๆ อย่างชัดเจนในพื้นที่นำร่อง
- กลุ่มบุคคลทั่วไปบางกลุ่มยังมีความไม่เข้าใจเป้าหมายการขับเคลื่อนของระบบสุขภาพในสังคมพหุวัฒนธรรมว่าเป็นการเพิ่มอัตลักษณ์ชาวพุทธในพื้นที่อาจถูกหยิบยกเป็นเครื่องมือสร้างความแตกแยกในพื้นที่ จำเป็นต้องมีการรณรงค์สาธารณะทุกภาคส่วนในสังคมให้เข้าใจ
- สมรรถนะภิกษุในการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการแพทย์พหุวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพยังไม่มีข้อมูลพื้นฐานที่ชัดเจน
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
- การประสานงานระหว่างทีม สวสต และผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ (คณะทำงานจากคณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี) ไม่ชัดเจน ในเรื่องความต้องการของแหล่งทุน เป้าหมายการขับเคลื่อนงาน การส่งมอบงานและงบประมาณ ทำให้เกิดการล่าช้า (ประมาณ 4 เดือน) ในการดำเนินงาน ส่งผลให้ไม่สามารถวางแผนงานที่ชัดเจน การเร่งรัดทำงานในช่วงท้ายทำให้ผลงานที่ได้มาจึงขาดความชัดเจน
- ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
ดังนั้น การทำงานในระยะต่อไปควรเชิญภาคีที่รับผิดชอบ มาทำควาามเข้าใจเป้าหมายของการขับเคลื่อนงาน ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ ผลผลิตที่ต้งอการ รวมไปถึง การจัดการเอกสารการเงิน
- สร้างสื่อรณรงค์สาธารณะเรื่องการแพทย์พหุวัฒนธรรม
- มีเวทีขับเคลื่อน ให้ประเด็นการแพทย์พหุวัฒนธรรม ในประเด็นพุทธ นี้ไม่นำไปสู่การใช้เพื่อสร้างความแตกแยกในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
- การยกระดับให้คุณค่า กับพื้นที่รูปธรรมที่ใช้การแพทย์พหุวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ ที่ประสบความสำเร็จ
- การเตรียมความพร้อมทีมทำงาน ก่อนลบงมือปฏิบัติงาน เนื่องจากคณะพยาบาลศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี เป็นภาคีใหม่
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ
- จัดประชุมถอดบทเรียนวิถีพุทธ ......................................
ข้อสรุปจากเวที มีอะไรบ้าง........................................
- คุณภาพชีวิต ยอมรับความเจ็บป่วย
- คุณลักษณะพยาบาล เมตตา กรุณา
- ความร่วมมือในการรักษา
- เครือข่ายกลุ่มสนับสนุน
- ถอดบทเรียน
- การตอบรับของประชาชน ความพึงพอใจระบบ
- รางวัล
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
อาจารย์คณะแพทย์ แพทย์ พยาบาล อาสาพัฒนาชุมชน นักวิชาการสาธารณสุข พระสงฆ์ ตำรวจ
-
-
-
.
.
.
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการโครงการ
.
เพื่อทบทวนและปรับปรุงเนื้อหายกร่างการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลาม
ประชุมคณะทำงาน ร่างเนื้อการจัดการระบบบริการสุขภาพ
องค์ความรู้สุขภาพวิถีอิสลาม และได้รายชื่อเครือข่ายของสถานบริการสุขภาพ และเครือข่ายผู้รับบริการ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
คณะกรรมการโครงการ
.
.
.
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
สรุปประเด็นเบื้องต้น ในส่วนของ อบต.รพ.รามัน อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และชาวบ้าน ได้ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ จุดเด่นคือ ชุมชนแห่งนี้จะมีจิตใจอามาอย่างมากในการทำงาน ทุกคนมีบทบาทและมีความสำคัญในการแก้ไขปัญหาอย่างมาก ได้มีการลงพื้นที่เยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง สร้างกำลังใจแก่ผู้ป่วยติดเตียง
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในประเด็นผู้ป่วยติดเตียง เจ้าหน้าที่ รพ.รามัน ผู็นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. นายก อบต.รองปลัด และชาวบ้าน
-
-
-
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
สรุปประเด็นเบื้องต้น เน้นเรื่องความสะอาด ชาวบ้านมีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือชุมชนให้เกิดความสามัคคี เน้นเรื่องการทำกิจกรรมมีการฟังบรรยายทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้เกิดความเป็นพี่น้องความรัก มีการให้ความรู้แก่ชาวบ้าน โดยมีเจ้าหน้าที่ รพ.สต. อสม.และผู้นำศาสนาเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อให้เกิดความสำเร็จ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้ที่มีส่วนร่วมในประเด็นการจัดการสุขภาพ เจ้าหน้าที่ รพ.รามัน อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และชาวบ้าน
เรื่องวัคซีน ชาวบ้านยังไม่เปิดใจเรื่องวัคซีน และยังขาดความรู้ที่แน่ชัดเกี่ยวกับวัคซีน
-
1.ควรมีการพูดและให้ความรู้ก่อนฉีดวัคซีน 2.ให้ความรู้ที่แน่ชัดเเก่พ่อและแม่
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
สรุปประเด็นเบื้องต้นเจ้าหน้าที่ รพ.สต ได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรค เน้นการออกกำลังกาย เช่นสนับสนุนให้เดินไปมัสยิดมากกว่าการขึ้นรถ ด้านอาหารการกิน เน้นการปลูกผักทานเองหลีกเลี่ยงการซื้อผักทาน
จุดเด่นของชาวบ้านคือ การทำฮาลาเกาะอัลกรุอ่าน มีการออกกำลังกาย และทานอาหารที่เป็นประโยชน์ได้ควบคุมอาหารตามที่เจ้าหน้าที่บอก และที่สำคัญชาวบ้านที่นี้ได้ให้ความสำคัญกับ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ รพ.สต. เจ้าหน้าที่ รพ.บาเจาะ อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา รองนายก อบต. และชาวบ้าน
-
-
-
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
สรุปประเด็นเบื้องต้น ทางรพ.สต.เจ๊ะเกได้ให้ความสำคัญในการแก้ปัญหาในเรื่อง บุหรี่ วัคซีน แม่เเละเด็ก และโรงเรียนพ่อแม่
- บุหรี่ มีการแก้ไขโดยมีหลักสูตรที่ชัดเจนและสามารถดึงเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถทำให้เยาวชนเลิกบุหรี่ได้
- วัคซีน ทางรพ.สต.และผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโดยการให้ผู้นำชุมชนให้ความรู้แก่ชาวบ้านเรื่องวัคซีน ได้บอกถึงหลักศาสนาพร้อมด้วยหลักวิทยาศาสตร์ทำให้ชาวบ้านเข้าใจและให้ความสำคัญกับการฉีดวัคซีน
- แม่และเด็ก รพ.สต.ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองก่อนตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ ได้มีการดูแลตามหลักศาสนา
- โรงเรียนพ่อแม่ทาง รพ.สต.ได้เพิ่มหลักสูตรให้กับสามีเพื่อที่จะให้การวางแผนชีวิตในครอบครัวเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น มีการสอยนหลักการอิสลามให้หัวหน้าครอบครัวเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นหัวหน้าครอบครัว จดบันทึกโดยนูรตักวา สะมะดี
บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ รพ.สต. อสม.ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และชาวบ้าน
การแก้ไขปัญหาเรื่องบุหรี่ โดยให้มัสยิดและโรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่และให้ชาวบ้านให้ความร่วมมือในเรื่องนี้
-
-
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
สรุปเบื้องต้น ยาเสพติดเกิดจากปัญหาเรื่องครอบครัว การศึกษา และขาดจิตสำนึกที่ดี เพราะฉะนั้นควรให้ความสำคัญกับครอบครัว ครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด การศึกษาเมื่อเยาวชนมีการศึกษาที่ดีจะทำให้เยาวชนไม่หันไปยุ่งกับยาเสพติด ส่วนด้านจิตใจจะมีการสร้างและตระหนักถึงโทษของยาเสพติดตั้งแต่วัยเด็ก
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้ที่มีส่วนร่วมในประเด็นยาเสพติด ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. เจ้าหน้าที่ รพ. เยาวชน
วิธีการแก้ไขและเข้าถึงเยาวชนและให้ความสำคัญเน้นเรื่องการศึกษาเพื่อให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติด
-
-
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
สรุปผลเบื้องต้น รพ.สต ได้มีการเน้นเกี่ยวกับแม่และเด็ก วัคซีน ยาเสพติดมีการแก้ไขโดยมีการนำผู้นำศาสนามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต.เป็นตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต เช่น อาหาร การออกกำลังกาย การถือศีลอด เป็นต้น
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
- เจ้าหน้าที่ รพ.สต
- ผู้นำชุมชน
- ผู้นำศาสนา
- ชาวบ้าน
- อสม.
จะแก้ไขเรื่องวัคซีน เพราะชาวบ้านยังมีความเชื่อเรื่องวัคซีนว่าไม่ฮาลาล ยังต้องการข้อมูลหรือผู้ที่มาให้ความรู้แก่ชาวบ้าน
-
-
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
ทาง รพ.จะมีการให้ความรู้แก่หมอตำแยและชาวบ้านที่มารับบริการ และยังให้หมอตำแยเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้มารับบริการโดยต้องผ่านการอบรมจากเจ้าหน้าที่ รพ. ทาง รพ.ได้มีผู้รู้ทางศาสนามาให้ความรู้ที่เกี่ยวกับการดูแลตนเองตอนตั้งครรภ์และหลังคลอด
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้อำนวยการ รพ เจ้าหน้าที่ รพ
ทาง รพ.พยายามให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการที่สอดคล้องกับศาสนาเพื่อจะได้เข้าใจวิธีการรักษา
-
-
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
หมู่บ้านนี้จะมีผู้สูงอายุเป็นบุคคลหลักในแก้ไขปัญหา และยังมีประเด็นสุขภาพที่น่าสนใจในเรื่อง แคกิ๊ปเวอร์คือการดูแลผู้สูงอายุ เป็นการดูแลที่สอดคล้องกับระบบอิสลาม มีผลตอบรับดีมาก
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ รพ.สต เจ้าหน้าที่ทันตสุภาพ ตัวแทน อสม. ตัวแทนผู้นำชุมชน ตัวแทนผู้นำศาสนา ปราชญ์ชาวบ้าน ชาวบ้าน
เยาวชนที่ติดยาเสพติดไม่ค่อยให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.และผู้สูงอายุมากนัก แต่เจ้าหน้าที่พร้อมด้วยผู้สูงอายุก็พยายามเข้าหาเยาวชนเพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้
ทางสมาคมได้ให้คำแนะนำในเรื่องบุหรี่โดยให้มัสยิดเป็นเขตปลอดบุหรี่และให้ผู้นำชุมชนเป็นแบบอย่างในการเลิกสูบบุหรี่
เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559
การถอดบทเรียนในครั้งนี้ ได้รู้ถึงปัญหาของชุมชนแห่งนี้ ได้แก่ปัญหา โรคเรื้อรัง แม่และเด็ก ยาเสพติด ทันตสุขภาพ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้ให้ความรู้แก่ชาวบ้านในเรื่องต่างๆ และชาวบ้านก็ได้นำกลับไปปฎิบัติอย่างเคร่งครัด เพราะเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้เน้นเรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกาย การปฎิบัติต่อตนเองเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ และสร้างแรงจูงใจในการประกอบอาชีพ
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
ประกอบด้วย
ผู้เข้าร่วมโครงการ เจ้าหน้าที่ รพ.สต ตัวแทน อสม. ตัวแทนผู้นำศาสนา ตัวแทผู้นำชุมชน ชาวบ้าน และวิทยากรถอดบทเรียน
ชาวบ้านบางส่วนให้ความร่วมมือเป็นบางส่วนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด แต่ทางผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน รวมทั้งเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้ให้ความร่วมมือในการแก้ไขอย่างเต็มที่ โดยการให้ความรู้ และสร้างจิตสำนึกแก่เยาวชน
ต้องพยายามให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและต้องมีการจำแนกกลุ่มบุคคลออกอย่างชัดเจน เสี่ยง เสพ ติด เพื่อง่ายในการรักษาหรือป้องกันการเสพยาเพิ่มมากขึ้น
-
.
.
บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)
.